Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Aerides krabiendsis
Aerides krabiendsis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Aerides houlletiana
Rchb.f.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
ศรีกระบี่
ชื่อท้องถิ่น::
-
กุหลาบพวงชมพู กุหลาบกระบี่
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Aerides
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:26 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:26 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 12-20 ซม. ลำต้นเรียว ใบ รูปรางน้ำ ค่อนข้างหนา กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 10-12 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบ ยาว 12-15 ซม. จำนวน 10-20 ดอก ต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีชมพูเข้ม โคนกลีบสีขาว กลีบปากสีชมพูอมม่วง ดอกบานเต็มที่กว้าง 1.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ทางภาคใต้ ออกดอกช่วงเดือน เมษายน-พฤษภาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 12-20 ซม. ลำต้นเรียว ใบ รูปรางน้ำ ค่อนข้างหนา กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 10-12 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบ ยาว 12-15 ซม. จำนวน 10-20 ดอก ต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีชมพูเข้ม โคนกลีบสีขาว กลีบปากสีชมพูอมม่วง ดอกบานเต็มที่กว้าง 1.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ทางภาคใต้ ออกดอกช่วงเดือน เมษายน-พฤษภาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 12-20 ซม. ลำต้นเรียว ใบ รูปรางน้ำ ค่อนข้างหนา กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 10-12 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบ ยาว 12-15 ซม. จำนวน 10-20 ดอก ต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีชมพูเข้ม โคนกลีบสีขาว กลีบปากสีชมพูอมม่วง ดอกบานเต็มที่กว้าง 1.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ทางภาคใต้ ออกดอกช่วงเดือน เมษายน-พฤษภาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 12-20 ซม. ลำต้นเรียว ใบ รูปรางน้ำ ค่อนข้างหนา กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 10-12 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบ ยาว 12-15 ซม. จำนวน 10-20 ดอก ต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีชมพูเข้ม โคนกลีบสีขาว กลีบปากสีชมพูอมม่วง ดอกบานเต็มที่กว้าง 1.5 ซม. มีกลิ่นหอม พบตามป่าดิบเขา ทางภาคใต้ ออกดอกช่วงเดือน เมษายน-พฤษภาคม
การกระจายพันธุ์ :
-
ไทย และมาเลเซีย
-
ไทย และมาเลเซีย
-
ไทย และมาเลเซีย
-
ไทย และมาเลเซีย
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA995179
995179
2
PRJNA994440
994440
3
PRJNA923320
923320
4
PRJEB49299
787880
5
PRJEB42150
700046
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Erycibe peguensis
Seseli mairei
Campanumoea javanica
Mansonia gagei
มะเม่าฝอบ
Antidesma forbesii
Cynometra malaccensis
Previous
Next