Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Chaca bankanensis
Chaca bankanensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Chaca bankanensis
Bleeker, 1852
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Chaca bankae Giebel, 1857
ชื่อไทย:
-
กะแมะ
-
ปลากะแมะ
ชื่อท้องถิ่น::
-
อีแกกาเปาะฮ์
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Siluriformes
วงศ์::
Chacidae
สกุล:
Chaca
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 12:00 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 12:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นราธิวาส
-
พรุโต๊ะแดง
-
นราธิวาส
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นปลาหนังที่มีรูปร่างประหลาด มีส่วนหัวแบนราบมาก และมีปากกว้าง มีหนวดสั้นที่จมูก ขากรรไกรบน และใต้คาง รวม 4 คู่ ส่วนหัวมองจากด้านบนคล้ายปลายจอบขุดไม้ที่ขาวภาคใต้เรียกว่า กะแมะ ครีบหลังและครีบอกสั้น มีก้านแข็งที่ปลายแหลมคม ก้านครีบอกมีขอบหยัก ไม่มีครีบไขมันแต่มีก้านครีบหางที่ต่อเนื่องมาบนด้านหลังและอยู่ชิด
กับกัานครีบก้น ครีบท้องอันใหญ่มีผิวย่นและเป็นตุ่มขนาดต่างๆ ประทั่วตัว บริเวณขอบหัวและส่วนหัวมีติ่งหนังอยู่โดยรอบ ตัวมีสีน้ำตาลแดงเข้ม หรือน้ำตาลไหม้ ด้านท้องสื-
จาง มีประและจุดสีคล้ำกระจายทั่วตัว ขนาดใหญ่สุด 20 เซนติเมตร
ระบบนิเวศ :
-
พบเฉพาะในแอ่งน้ำในพรุ อยู่บนกองใบไม้ร่วง มักอยู่นิ่งเป็นเวลานานเพื่อรอเหยื่อคือ ปลาขนาดเล็กอื่นๆ ให้เข้ามาตอดที่ติ่งหนังหรือหนวดซึ่งตัวปลาจะกระดิกล่อให้เหมือนกับตัวหนอนแล้วฮุบกินด้วยปากอันกว้าง
การกระจายพันธุ์ :
-
ในประเทศไทยพบเฉพาะที่พรุโต๊ะแดงและพบในมาเลเซีย สุมาตราถึงบอเนียว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
-
Tokdaeng Peat swamp.
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Show
10
25
50
100
entries
Search:
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-F-00000203
NSM
Narathiwat
THNHM-F-00010479
NSM
Narathiwat
THNHM-F-00010480
NSM
Narathiwat
THNHM-F-00010481
NSM
Narathiwat
THNHM-F-00010482
NSM
Narathiwat
THNHM-F-00018378
NSM
Narathiwat
THNHM-F-00018379
NSM
Narathiwat
THNHM-F-00018380
NSM
Narathiwat
THNHM-F-00018381
NSM
Narathiwat
THNHM-F-00018382
NSM
Narathiwat
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Showing 1 to 10 of 13 entries
Previous
1
2
Next
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 12 Peat Swamp Fishes of Thailand, 2545
OEPP Biodiversity Series Vol. 4 Checklist of FISHES IN THAILAND, 2540
กรมประมง
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Glyphocrangon caeca
ตั๊กแตนโกโก้รัฐฉาน
Habrocnemis shanensis
แมงป่องแส้
Ginosigma schimkewitschi
ปลาหมึกสายลายเสือ
Thaumoctopus mimicus
Ophiogymna elegans
Lasioglossum vagans
Previous
Next