Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cephaloscyllium silasi
Cephaloscyllium silasi
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cephaloscyllium silasi
(Talwar, 1974)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Scyliorhinus silasi Talwar, 1974
ชื่อสามัญ::
-
Indian swell shark
-
Indian swellshark
ชื่อไทย:
-
ฉลามท้องโป่ง, ฉลามลาย, ฉลามกบอินเดีย, ฉลามท้องโป่งแถบน้ำตาล
-
ปลาฉลามท้องโป่ง, ปลาฉลามลาย, ปลาฉลามกบอินเดีย, ปลาฉลามท้องโป่งลายน้ำตาล
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Carcharhiniformes
วงศ์::
Scyliorhinidae
สกุล:
Cephaloscyllium
ที่มา :
ร.ท.บรรสาร ศิริพิชญ์ตระกูล ร.น. และ Dr. K.V. Akhilesh
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
20 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
20 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 46 ชม. ขนาดทั่วไปที่พบ 35-45 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 36-40 ชม. เพศเมีย 40-45 ซม. และขนาดแรกเกิด 10-12 ชม.
- ส่วนหัวกว้าง มีสันแข็งเหนือเข้าตาบนกะโหลกศีรษะ ไม่มีร่องเชื่อมระหว่างจมูกและปาก แผ่นหนังที่จมูกยาวถึงปาก ไม่มีร่องที่มุมปาก ครีบหลังอันที่สองมีขนาดเล็กกว่าครีบหลังอันแรกและครีบก้น ลำตัวสี
น้ำตาล รูปแบบลายบนลำตัวเป็นแถบขวางสีน้ำตาลเข้ม 7 แถบ และด้านท้องมีสีเทาหรือขาวอมน้ำตาล
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นไข่ ครั้งละ 2 ฟอง โดยไข่มีลักษณะเป็นกระเปาะสี่เหลี่ยมคล้ายพวกปลาฉลามกบทั่วไป ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก ปลาหมึก กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลตามเชิงลาดไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 200-500 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ผีเสื้อปลายปีกส้มใหญ่
Hebomoia glaucippe
Eurema brigitta
Heterobrissus niasicus
Conus abbas
ปูแป้งด่านซ้าย
Thaipotamon dansai
Ypthima pandocus
Previous
Next