-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดกลาง (53 ซม.) ปากหนาและโค้งเล็กน้อย คอสั้น ปีกยาวแหลม สีของลำตัวทั้งด้านบน และด้านล่างสีดำเหลือบน้ำเงิน ปีกและลำตัวตอนท้ายสีน้ำตาลแดง ตาสีแดง ปากและนิ้วสีดำ
-
ใหญ่กว่าชนิดอื่น หัว คอ ลำตัวด้านล่างและหางดำเหลือบม่วง หลังและปีกสีน้ำตาลแดง นกตัวไม่เต็มวัยบริเวณ หลังและปีกมีลายขวางสีเข้ม หัวและลำตัวมีจุดขาว
-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
นกขนาดใหญ่กว่านกกะปูดชนิดอื่น หัว คอ ลำตัวด้านล่าง และหางดำเหลือบม่วง หลังและปีกสีน้ำตาลแดง นกวัยอ่อน : หลังและปีกมีลายขวางสีเข้ม หัวและลำตัวมีจุดสีขาว
-
ระบบนิเวศ :
-
ทุ่งนา ทุ่งหญ้า ป่าโปร่ง สวนผลไม้ ที่ราบถึงความสูง 1,525 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
พบตามชายป่า และทุ่งโล่ง ร้องเสียงดัง ปูด ปูด ปูด เป็นจังหวะ อาหารได้แก่
พวกสัตว์เล็กๆ ทั้งสัตว์เลื้อยคลาน กบ เขียด แม้กระทั่งนกเล็กๆ รวมทั้งหนอน และแมลงต่างๆ ด้วย
-
ทุ่งนา ทุ่งหญ้า ป่าโปร่ง สวนผลไม้
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
สวนยาง ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
กระบี่, มุกดาหาร, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าดงภูสีฐาน มุกดาหาร, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ทำรังตามป่าหญ้า ป่าละเมาะ หรือก่อไผ่ โดยใช้ใบไม้และหญ้าแห้งมาม้วนเข้าด้วยกันเป็นรูปทรงกลมไข่สีขาว แต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟักประมาณ 21-23 วัน
-
การกระจายพันธุ์ :
-
นกประจำถิ่น