Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Adiantum philippense
Adiantum philippense
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Adiantum philippense
L.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Adiantum teestii Verma
ชื่อไทย::
-
กูดหูขวาก
-
หญ้าขวาก
-
หญ้าขวาก,ก้านดำฟิลิปปินส์
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าขวาก
-
กูดหูควาก, หัวขวาก, หญ้าขวาก, ผีกกะฉอดหนู, หางชิงช้า
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Polypodiales
วงศ์::
Pteridaceae
สกุล:
Adiantum
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 02:47 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 02:47 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Terrestrial or lithophytic fern.
-
ใบประกอบแบบขนนก 1 ชั้น ในระยะใบอ่อนมีหน่อตาที่ปลายแกนราคิสและยื่นแตะพื้นดินจึงงอกเป็นต้นใหม่ได้ และไม่พบหน่อตาในใบที่มีสปอร์ก้านใบ แกนราคิสและแผ่นใบเกลี้ยง พินนี 11 คู่ รูปเกือบครึ่งวงกลม มีก้านพินนีชัด
-
แกนราคิสเกลี้ยงและมีหน่อตาที่ปลาย ใบย่อยรูปครึ่งวงกลมและมีก้านใบ
-
ในระยะต้นอ่อนมีลักษณะเป็น walking fern เนื่องจากมีหน่อตาที่ปลายแกนใบ แต่ในระยะใบสร้าง สปอร์จะไม่พบหน่อตา
ระบบนิเวศ :
-
On rather dry slopes or muddy crevices of rocks in
light shade or on humus-rich floor of dense forest; at low to medium altitudes, rarely to 1,400 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Old World tropics.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Alloverthecountry
-
เชียงใหม่, ลำปาง, พะเยา, กาญจนบุรี, พระนครศรีอยุธยา, เลย, อุดรธานี
-
เชียงใหม่
-
พังงา
-
อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เฟิร์นบนดิน
-
เฟิร์นเกาะหิน
-
เฟิร์นชอบขึ้นบนก้อนหินที่ชื้นๆ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, ทางเดินไปน้ำตกแม่กลาง และ น้ำตกแม่ปาน
-
หมู่เกาะสุรินทร์, แหลมอุทยาน
ของเกาะสุรินทร์เหนือ
-
ผาแต้ม, น้ำตกแสงจันทร์และน้ำตกสร้อยสวรรค์
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Argostemma puffii
Alpinia intermedia
Matonia pectinata
Gigantochloa albociliata
Madhuca malaccensis
Pteridrys syrmatica
Previous
Next