Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cassia bakeriana
Cassia bakeriana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cassia bakeriana
Craib
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Cassia bakerana Craib
ชื่อสามัญ::
-
Wishing tree, Pink shower
-
Pink shoeer, Wishing tree
ชื่อไทย::
-
กัลปพฤกษ์
ชื่อท้องถิ่น::
-
กานล์ Wishing Tree, Pink Shower
-
กัลปพฤกษ์
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Cassia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:15 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:15 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ผลัดใบช่วงสั้นๆ สูงได้ถึง 10 ม. กิ่งอ่อนมีขนนุ่มหนาแน่น ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 5-7 คู่ รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 6-8 ซม. โคนและปลายใบมน ดอกสีชมพู ออกเป็นพวง ก้านช่อสีออกเหลืองมีขนนุ่ม ยาว 5-12 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ รูปไข่แคบๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ ขนาดกว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 3.5-4.5 ซม. เกสรผู้ 10 อัน ยาว 3 อัน มีต่อมที่โคนและสั้น 4 อัน กับที่เป็นหมันอีก 3 อัน ผลเป็นฝักสีน้ำตาลเข้มอมเทา รูปทรงกระบอก ยาว 30-40 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น ผลัดใบช่วงสั้นๆ สูงได้ถึง 10 ม. กิ่งอ่อนมีขนนุ่มหนาแน่น ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 5-7 คู่ รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 6-8 ซม. โคนและปลายใบมน ดอกสีชมพู ออกเป็นพวง ก้านช่อสีออกเหลืองมีขนนุ่ม ยาว 5-12 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ รูปไข่แคบๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ ขนาดกว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 3.5-4.5 ซม. เกสรผู้ 10 อัน ยาว 3 อัน มีต่อมที่โคนและสั้น 4 อัน กับที่เป็นหมันอีก 3 อัน ผลเป็นฝักสีน้ำตาลเข้มอมเทา รูปทรงกระบอก ยาว 30-40 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.
-
ไม้ต้น ผลัดใบช่วงสั้นๆ สูงได้ถึง 10 ม. กิ่งอ่อนมีขนนุ่มหนาแน่น ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 5-7 คู่ รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 6-8 ซม. โคนและปลายใบมน ดอกสีชมพู ออกเป็นพวง ก้านช่อสีออกเหลืองมีขนนุ่ม ยาว 5-12 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ รูปไข่แคบๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ ขนาดกว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 3.5-4.5 ซม. เกสรผู้ 10 อัน ยาว 3 อัน มีต่อมที่โคนและสั้น 4 อัน กับที่เป็นหมันอีก 3 อัน ผลเป็นฝักสีน้ำตาลเข้มอมเทา รูปทรงกระบอก ยาว 30-40 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.
-
ไม้ต้น ผลัดใบช่วงสั้นๆ สูงได้ถึง 10 ม. กิ่งอ่อนมีขนนุ่มหนาแน่น ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 5-7 คู่ รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 6-8 ซม. โคนและปลายใบมน ดอกสีชมพู ออกเป็นพวง ก้านช่อสีออกเหลืองมีขนนุ่ม ยาว 5-12 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ รูปไข่แคบๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ ขนาดกว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 3.5-4.5 ซม. เกสรผู้ 10 อัน ยาว 3 อัน มีต่อมที่โคนและสั้น 4 อัน กับที่เป็นหมันอีก 3 อัน ผลเป็นฝักสีน้ำตาลเข้มอมเทา รูปทรงกระบอก ยาว 30-40 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนกิ่งตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ ใบประดับ กลีบเลี้ยง และฝัก ใบประกอบยาว 15-40 ซม. มีใบย่อย 5-8 คู่ ใบย่อยรูปขอบขนานหรือรูปใบหอกกลับ ปลายกลมมีติ่งแหลม โคนกลม ก้านใบยาวประมาณ 2 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาว 5-12 ซม. ออกตามซอกใบที่หลุดร่วง ใบประดับและใบประดับย่อยสีแดงอมน้ำตาล กลีบเลี้ยงรูปใบหอกยาว 0.9-1.2 ซม. ดอกสีขาวอมชมพู กลีบรูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 3.5-4.5 ซม. เกสรเพศผู้อันยาว 3 อัน โค้งงอ ก้านชูอับเรณูยาว 3.5-5 ซม. ป่องกลาง อันสั้น 4 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณกึ่งหนึ่งของอันยาว แต่อับเรณูยาวกว่าประมาณ 2 เท่า 3 อันลดรูป ยาว 1-1.5 ซม. อับเรณูขนาดเล็ก รังไข่ยาวประมาณ 4 ซม. ก้านยาว 1-1.5 ซม. ฝักยาว 30-40 ซม. มี 30-40 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในประเทศพม่าและทางเหนือของประเทศไทย ตามป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 300-1,000 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน
-
พบในประเทศพม่าและทางเหนือของประเทศไทย ตามป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 300-1,000 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน
-
พบในประเทศพม่าและทางเหนือของประเทศไทย ตามป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 300-1,000 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน
-
พบในประเทศพม่าและทางเหนือของประเทศไทย ตามป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 300-1,000 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูง 300-1000 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เชียงราย
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
พะเยา, น่าน
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
หนองคาย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองบงคาย
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ไม้ใช้สอย
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Tectaria polymorpha
Schefflera elliptica
Bulbophyllum reptans
Eleocharis tetraquetra
Osmanthus matsumuranus
พุดป่า
Gardenia thailandica
Previous
Next