Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Caryota urens
Caryota urens
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Caryota urens
L.
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Jaggery palm, Toddy palm, Wine palm
ชื่อไทย::
-
เต่าร้าง
-
เต่ารั้ง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Arecales
วงศ์::
Arecaceae
สกุล:
Caryota
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 18:46 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 18:46 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลน้อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้นจำนวนพวกปาล์ม ต้นเป็นปล้องสูงชะลูดขึ้นไป ต้นมีกาบหุ้มเป็นเส้นประสานกัน ใบแหว่งเว้ากลางเหมือนถูกฉีดออกครึ่งใบ มีจั่นที่คอ ผลกลมห้อยเป็นพวงระย้า ผลแก่สีแดงและม่วงดำเต่าร้างที่ขึ้นเป็นกอที่ชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า Caryota mitis Lour.
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นไม้กลางแจ้ง ชอบดินร่วนปนทรายที่มีการระบายน้ำดี มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบได้ตั้งแต่อินเดีย พม่า หมู่เกาะอันดามัน อินโดนีเซีย ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย และทางตอนใต้ของจีน ส่วนในประเทศไทยพบขึ้นกระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ โดยมักพบขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น ป่าเสื่อมโทรม ริมลำธาร ตามที่ลุ่ม และตามแนวหลังป่าชายเลนที่ติดกับป่าบกหรือป่าพรุ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พัทลุง, นครศรีธรรมราช
-
นครศรีธรรมราช
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สรรพคุณตามตำราไทย ใบ แก้ไข้ ขับปัสสาวะ แก้อ่อนเพลีย รักษากามโรค รักษาโรคบุรุษ เป็นยาคุมสำหรับหญิงที่คลอดบุตรใหม่ เป็นยาบำรุง เป็นยาขับพยาธิไส้เดือน แก้ไอ ทำให้เกิดความกำหนัด ราก ขับปัสสาวะ แก้ไข้ตัวร้อน แก้ไข้หวัด แก้ไอเรื้อรัง แก้ท้องเสีย แก้บิด ขับพยาธิ ขับระดู บีบมดลูก แก้ปวดฟัน แก้ฝี แผลมีหนอง บวมอักเสบทั้งหลาย เป็นยาคุมสำหรับหญิงที่คลอดบุตรใหม่ เป็นยาบำรุง เป็นยาขับไส้เดือน รักษาโรคบุรุษ ไม่ระบุส่วนที่ใช้ บำรุงกำลัง ชูกำลัง ตัดกษัย บำรุงกษัยไม่ให้เกิด แก้ปัสสาวะพิการ บำรุงความกำหนัด แก้ไข้จับสั่น แก้ไอ แก้ไข้ ขับพยาธิไส้เดือน แก้กามโรค แก้หลอดลมอักเสบ แก้ปอดบวม แก้ตับอักเสบ แก้บิด รักษาตัวบวม รักษาไตอักเสบ ทั้งต้น ขับปัสสาวะ แก้ไข้ แก้ไข้จับสั่น ขับน้ำเหลืองเสีย แก้บิด แก้ท้องเสีย แก้ไอ บำรุงหัวใจ ขับเหงื่อ ขับระดู ขับพยาธิตัวกลม แก้ปัสสาวะพิการ บำรุงความกำหนัด แก้กระษัย ขับไส้เดือน แก้กามโรค แก้บวมน้ำ แก้นิ่ว แก้ไข้หวัด แก้เจ็บคอ แก้ตาแดง แก้ดีซ่าน แก้เลือดกำเดาออกง่าย แก้ฝี แก้แผลมีหนอง แก้แผลงู แก้แมลงมีพิษกัดต่อย
:
-
สรรพคุณตามตำราแพทย์แผนจีน รสตัวยาสมุนไพร รสกร่อยจืด ลักษณะเครื่องยา โด่ไม่รู้ล้มเป็นส่วนทั้งต้นแห้ง พบได้ทั้งต้นที่สมบูรณ์และชิ้นส่วนของต้นและราก อาจพบดอกอ่อนปนมาด้วย สีเขียวแกมสีน้ำตาลถึงสีดำ หงิกงอ กลิ่นเฉพาะ รสจืดกร่อย
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
กันภัยมหิดล
Afgekia mahidolae
Petrocosmea bicolor
Aristida chinensis
ปอคาว
Firmiana fulgens
Ophiopogon revolutus
Maranta arundinacea
Previous
Next