Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Careya sphaerica
Careya sphaerica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Careya sphaerica
Roxb.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
กระโดน
ชื่อท้องถิ่น::
-
kra don
-
กระโดน (ภาคกลาง,ภาคใต้), กะนอน (เขมร), ขุย (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) , แซงจิแหน่, เส่เจ๊อะบะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), ปุย (ภาคเหนือ,ภาคใต้) ,ปุยกระโดน (ภาคใต้), ปุยขาว, ผ้าฮาด (ภาคเหนือ), พุย ( ละว้า-เชียงใหม่), หูกวาง (จันทบุรี)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ericales
วงศ์::
Lecythidaceae
สกุล:
Careya
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:41 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:41 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรูปใบหอกกลับ กว้าง 7-11 ซม. ยาว 18-28 ซม. ช่อดอกเป็นช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมเขียวอ่อน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-10 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรูปใบหอกกลับ กว้าง 7-11 ซม. ยาว 18-28 ซม. ช่อดอกเป็นช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมเขียวอ่อน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-10 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรูปใบหอกกลับ กว้าง 7-11 ซม. ยาว 18-28 ซม. ช่อดอกเป็นช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมเขียวอ่อน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-10 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรูปใบหอกกลับ กว้าง 7-11 ซม. ยาว 18-28 ซม. ช่อดอกเป็นช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมเขียวอ่อน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-10 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ต้นสูง 10-15 เมตร ใบกว้าง 10.7-14.4 เซนติเมตร ยาว 22.4-28.3 เซนติเมตร ผลรูปทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.7-6.3 เซนติเมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
อุบลราชธานี
-
อำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี พื้นที่มีความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 87 เมตร
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
นครศรีธรรมราช
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ราชบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ขอนแก่น
-
ขอนแก่น
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
-
อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
เป็นไม้ยืนต้นสูง ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่กลับ (obovate) แผ่นใบเรียวถึงฐานใบ ผิวใบเป็นมัน หน้าใบและหลังใบไม่มีขน ขอบใบแบบจักฟันเลื่อยซ้อน (double serrate) ดอกออกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีเขียวอ่อน ขอบกลีบดอกสีชมพู มีอับเรณู (anther) จำนวนมากสีขาวออกเหลืองอ่อน ก้านชูอับเรณู (filament) สีขาว ก้านอับเรณูรอบนอกมีสีชมพูเข้ม ผลรูปทรงกลม ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นทั่วไป
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Lagerstroemia loudonii
Adiantum siamense
Arisaema roxburghii
Alpinia galanga
ว่านไหมนา
Anoectochilus siamensis
Eriocaulon bassacense
Previous
Next