Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Callosciurus erythraeus
Callosciurus erythraeus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Callosciurus erythraeus
(Pallas, 1779)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Sciurus erythraeus Pallas, 1779
ชื่อสามัญ::
-
Pallas's Squirrel
ชื่อไทย::
-
กระรอกท้องแดง
-
กระรอกสวน
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระรอกท้องแดง
-
กระรอก
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Mammalia
อันดับ:
Rodentia
วงศ์::
Sciuridae
สกุล:
Callosciurus
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:42 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:42 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
-
มีขนาดหัวและลำตัว 20-26 เซนติเมตร หางยาว 20 เซนติเมตร เป็นกระรอกขนาดกลาง มีสีขนหลากหลายสี พบในประเทศไทยมีลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแกมเขียวและท้องสีน้ำตาลแดงหางเป็นแถบสี เนื้อสลับดำจางๆ
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเฉพาะแถบบริเวณเทือกเขาเพชบูรณ์ภาคตะวันตก และภาคใต้
-
พบในป่าดงดิบเขาระดับสูงปานกลาง ป่าเบญจพรรณและป่าดงดิบชื้นภาคใต้ รวมทั้งป่าที่ถูกแผ้วถาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเฉพาะแถบบริเวณเทือกเขาเพชบูรณ์ภาคตะวันตก และภาคใต้
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
พะเยา
-
นครสวรรค์
-
กำแพงเพชร
-
อุตรดิตถ์
-
เชียงใหม่
-
นนทบุรี
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
พบในป่าดงดิบเขาระดับสูงปานกลาง ป่าเบญจพรรณและป่าดงดิบชื้นภาคใต้ รวมทั้งป่าที่ถูกแผ้วถาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
ตามต้นไม้ในป่าธรรมชาติ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
สถานที่ชม :
-
ภาพถ่าย
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA361218
361218
2
PRJNA267358
267358
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Onthophagus mairuu
งูบอหัวโหนก
Aplopeltura boa
Logania regina
Conus puncturatus
มอทหนอนมะไฟ
Pidorus atratus
งูชายธงหัวโต
Kolpophis annandalei
Previous
Next