Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cenchrus purpureus
x C. americanus
Cenchrus purpureus
x C. americanus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cenchrus purpureus
(Schumach.) Morrone
ชื่อสามัญ::
-
Napier grass, Bana grass
ชื่อไทย:
-
หญ้าเนเปียร์ พันธุ์บาน่า
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Cenchrus
วันที่อัพเดท :
9 มิ.ย. 2568 10:52 น.
วันที่สร้าง:
9 มิ.ย. 2568 10:52 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นหญ้าที่ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างหญ้าเนเปียร์กับหญ้า Pearl Millet ลักษณะทั่วไป เป็นหญ้าอายุหลายปี ลำต้นใต้ดินเป็นเหง้า ทรงต้นเป็นกอคล้ายต้นอ้อย เจริญเติบโตได้ดีบนดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง ไม่ทนน้ำท่วมขัง ไม่ทนต่อการเหยียบย่ำของสัตว์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ลำต้นสูงจากพื้นดิน 2-4 เมตร ตั้งตรงขึ้นไป ใบมีลีเขียว ใบมีขนค่อนข้างมาก ใบกว้างและมีเส้นกลางใบขนาดใหญ่ กาบใบมีขนเล็กๆนุ่ม ลิ้นใบเป็นวงแคบๆ มีขนสีขาวแข็ง ช่อดอกเป็นแบบ spike รูปทรงกระบอก
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทุกภาคของประเทศไทย
สถานที่ชม :
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ชัยนาท นครราชสีมา ยโสธร บุรีรัมย์ อำนาจเจริญ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม อุดรธานี กาฬสินธุ์ นครพนม หนองคาย เลย ลำปาง แพร่ เชียงราย เพชรบูรณ์ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช ชุมพร ตรัง สตูล นราธิวาส ศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง (ขอนแก่น)
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยท่อนพันธุ์
การเก็บเกี่ยว :
-
เหมาะสำหรับปลูกในเขตชลประทานเพื่อตัดหญ้าสดไปใช้เลี้ยงสัตว์ได้ตลอดทั้งปี ถ้าปลูกในพื้นที่ดินดีน้ำดี จะเจริญเติบโตรวดเร็ว ขนาดต้นสูงใหญ่ ให้ผลผลิตสูง เหมาะสำหรับใช้เป็นหญ้าสดสำหรับตัดให้สัตว์กิน และทำหญ้าหมัก นิยมปลูกใช้เลี้ยงช้างทางภาคเหนือ และสามารถปลูกเป็นแนวกันลมได้ดี
ที่มาของข้อมูล
ลักษณะประจำพันธุ์ของพืชอาหารสัตว์ที่ปลูกในประเทศไทย
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Aglaomorpha heraclea
Eriocaulon alatum
บุก
Amorphophallus campanulatus
Desmodium hayate
Acroporium convolutifolium
Glyptopetalum calocarpum
Previous
Next