Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Acroceras macrum
Acroceras macrum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Acroceras macrum
Stapf
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Neohusnotia macra (Stapf) C.C.Hsu
- Panicum gimmae Fiori
ชื่อสามัญ::
-
nile grass
ชื่อไทย:
-
หญ้าไนล์
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Acroceras
วันที่อัพเดท :
9 มิ.ย. 2568 10:52 น.
วันที่สร้าง:
9 มิ.ย. 2568 10:52 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชข้ามปีลักษณะต้นตั้งตรงถึงแผ่ราบ ลำต้นเรียวเล็ก ใบมีสีเขียวเข้ม ผิวใบเรียบหรือมีขนเล็กน้อย ใบค่อนข้างหนา ใบม้วนเกือบกลม กลางใบกว้างออก ปลายใบแหลม เหมาะกับพื้นที่ลุ่มที่มีลักษณะดินเป็นดินร่วมปนทรายถึงดินเหนียวปนทราย สามารถทนต่อน้ำท่วมขังตามฤดูกาลได้ ในประเทศไทยพบการออกดอกติดเมล็ดน้อยเนื่องจากอยุ่ในพื้นที่เขตร้อน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นขนาด 2.5-4 มม. ใบมีขนาดยาว 8-20 ซม. มีความสูงประมาณ 40-110 ซม. ช่อดอกแบบ panicle ยาว 15-25 ซม. ประกอบ 2 - 5 ช่อดอกย่อย ช่อดอกย่อยยาว 6-9 ซม. spikelets ยาว 5 มิลลิตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ถิ่นกำเนิด :
-
ทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
จ.ยโสธร
สถานที่ชม :
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ชัยนาท สระแก้ว นครราชสีมา ยโสธร อำนาจเจริญ ร้อยเอ็ด อุดรธานี สกลนคร หนองคาย เลย ลำปาง เชียงราย เพชรบูรณ์ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ตรัง พัทลุง สตูล นราธิวาส
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์เหง้า (rhizome) และไหล (stolon)
การเก็บเกี่ยว :
-
ตัดไปใช้เลี้ยงสัตว์ครั้งแรกตัดที่อายุ 60-75 วันหลังปลูก และตัดครั้งต่อไปทุกๆ 45-60 วัน โดยตัดสูงจากพื้นดิร 5-10 ซม.
ที่มาของข้อมูล
คู่มือ การปลูกหญ้าไนล์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pinanga limosa
Middletonia multiflora
Lindsaea parallelogramma
ทุเรียนดง
Cleistanthus oblongifolius
Pteridium aquilinum
Rhaphidophora montana
Previous
Next