Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cuon
alpinus
Cuon
alpinus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cuon alpinus
(Pallas, 1811)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Canis alpinus Pallas, 1811
ชื่อสามัญ::
-
asian wild dog, dhole
-
Dhole
-
Asian wild dog
-
Asian Wild Dog
ชื่อไทย:
-
หมาใน
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Mammalia
อันดับ:
Carnivora
วงศ์::
Canidae
สกุล:
Cuon
ปีที่ตีพิมพ์:
2012
วันที่อัพเดท :
20 ก.พ. 2568 13:35 น.
วันที่สร้าง:
20 ก.พ. 2568 13:35 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มีลำตัวค่อนข้างยาว มีสีน้ำตาลแกมแดง แก้มขาว คาง คอ และอกเป็นสีขาวเหลือง หูเล็ก หางเป็นพวงสวยงาม ตัวเมียมีเต้านม 12–14 เต้า จัดเป็นสัตว์ที่หายาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบในเอเชียใต้ลงไปจนถึงอินโดนีเซีย ในไทยพบในป่าอนุรักษ์ เช่นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
-
Tak (Thung Yai Naresuan); Kamphaeng Phet (Khlong Lan);
Loei (Phu Luang); Uthai Thani (Huai Kha Kaeng);
Kanchanaburi (Salak Phra); Phetchaburi (Kaeng Krachan);
Chaiyaphum (Phu Khieo); Nakhon Ratchasima (Khao Yai);
Chachoengsao (Khao Ang Rue Nai); Prachin Buri (Tub
Lan) Srakaew (Ta Phraya); Prachuap Khirikhan (Kui Buri);
Surat Thani (Khlong Saeng).
-
ป่าภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เชียงใหม่
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก
ระบบนิเวศ :
-
Evergreen forest.
-
ระบบนิเวศภูเขา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ตาก,กำแพงเพชร,เลย,อุทัยธานี,กาญจนบุรี,นคราชสีมา,ฉะเชิงเทรา,ปราจีนบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,สระแก้ว,สุราษฎร์ธานี
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก
-
เลย
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระแก้ว
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Atacira hupopalia
Allotinus substrigosa
หอยสังข์มงกุฎยอดแบน
Vasum turbinellum
Ceratoplax fulgida
Bibasis oedipodea
เม่นใหญ่
Hystrix brachyura
Previous
Next