Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Limacia triandra
Limacia triandra
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Limacia triandra
Miers
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ภาคกลาง เรียก เถาย่านาง, เถาหญ้านาง,เถาวัลย์เขียว, หญ้าภคินี เชียงใหม่ เรียก จ้อยนาง, จอยนาง, ผักจอยนาง ภาคใต้ เรียก ย่านนาง, ยานนางขันยอ, ยาดนาง ภาคอีสานเรียก ย่านาง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ranunculales
วงศ์::
Menispermaceae
สกุล:
Tiliacora
วันที่อัพเดท :
25 ธ.ค. 2567 09:33 น.
วันที่สร้าง:
25 ธ.ค. 2567 09:33 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ใบ - เป็นใบเดี่ยวติดกับลำต้นแบบสลับ ใบคล้ายรูปไข่ หรือรูปไข่ขอบขนาน ปลายใบเรียว ฐานใบมน ขนาดใบยาว 5-10 เซนติเมตร กว้าง 2-4 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ ผิวใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ก้านใบยาว 1-1.5 เซนติเมตร ใบมีสีเขียวเข้ม หน้าและหลังใบเป็นมัน
ดอก - แยกเพศอยู่คนละต้น ไม่มีกลีบดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบและตามลำต้น ช่อหนึ่งมี 3-5 ดอก ยาว 2-5 เซนติเมตร ต้นเพศผู้จะมีดอกสีน้ำตาล อับเรณูสีเหลืองอ่อน ดอกย่อยของต้นเพศผู้จะมีขนาดเล็ก ก้านช่อดอกมีขนสั้นๆ ละเอียด ปกคลุมหนาแน่น ดอกเพศเมียมีขนาดเล็กมาก ขนาดโตกว่าเมล็ดงาเล็กน้อย สีเหลืองอ่อนหรือเหลืองแกมเขียว
ผล - เป็นรูปไข่มีขนาดเล็ก เมื่ออ่อนมีสีเขียว สุกจะมีสีแสดถึงแดง กว้าง 6-7 มิลลิเมตร ยาว 7-10 มิลลิเมตร เมล็ดแข็งรูปเกือกม้า
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อย เป็นเถากลมขนาดเล็กเหนียวมีสีเขียว เถาอ่อนมีขนอ่อนปกคลุม เถาแก่ผิวเรียบมีสีเข้ม มีข้อห่างๆ รากมีขนาดใหญ่มีหัวใต้ดิน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
สุรินทร์
ที่มาของข้อมูล
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pittosporum kerrii
เข็มดอย
Duperrea pavettaefolia
Epithema ceylanicum
Hoya graveolens
Drynaria propinqua
Pertusaria thwaitesii
Previous
Next