Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Polyosma arguta
Polyosma arguta
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Polyosma arguta
Craib
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ยอป่า
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Escalloniales
วงศ์::
Escalloniaceae
สกุล:
Polyosma
ปีที่ตีพิมพ์:
2559
วันที่อัพเดท :
23 พ.ค. 2567 10:48 น.
วันที่สร้าง:
23 พ.ค. 2567 10:48 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
จันทบุรี
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
สุรินทร์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ต้นยอป่า จัดเป็นไม้ยืนต้น มีความสูงของต้นประมาณ 5-10 เมตรและอาจสูงได้ถึง 15 เมตร ลำต้นตั้งตรง เรือนยอดเป็นพุ่มรี กิ่งก้านมักคดงอและหักง่าย ตามผิวกิ่งมีปุ่มปมมาก ส่วนเปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอมเทา เปลือกหนาแตกเป็นร่องตามยาวและแนวขนาน หรือแตกเป็นสะเก็ดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ช่อดอกและใบจะออกหนาแน่นรวมกันอยู่ที่ปลายกิ่ง
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pentace burmanica
มะนาวไม่รู้โห่
Carissa carandas
Cycas tansachana
Cololejeunea ombrophila
Pittosporum kwangsiense
Hiptage bullata
Previous
Next