Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Sampantaea amentiflora
Sampantaea amentiflora
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Sampantaea amentiflora
(Airy Shaw) Airy Shaw
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Alchornea amentiflora Airy Shaw
ชื่อไทย:
-
สามพันตา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Euphorbiaceae
สกุล:
Sampantaea
ปีที่ตีพิมพ์:
2561
วันที่อัพเดท :
23 พ.ค. 2567 10:48 น.
วันที่สร้าง:
23 พ.ค. 2567 10:48 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบุรี
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
ระยอง
-
ลพบุรี
-
ราชบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ สูงประมาณ 5 เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่กลับ กว้าง 1.4- 7.5 เซนติเมตร ยาว 3.7-19 เซนติเมตร ปลายแหลมโคนรูปลิ่ม ก้านใบด้านบนแบน ดอก แบบช่อกระจะ ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ออกที่ซอกใบ กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้สีเขียวถึงสีขาวนวล ยาวประมาณ 6 เซนติเมตร ห้อยลงใบประดับ ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงรูปไข่ เกสรเพศผู้ 18-20 เกสร ดอกเพศเมียสีเขียว ก้านช่อดอกยาวประมาณ 0.8 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยง รูปไข่ถึงรูปรี รังไข่เหนือวงกลีบ มี 3 พู ยอดเกสรเพศเมียแตกเป็นแฉก ผล แห้งแตก 3 พู ผนังบาง สีเขียว โคนเรียวยาว ปลายยอดรูปสามเหลี่ยมกลับกว้าง เมล็ดรูปรี
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ออกดอกเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน ติดผลเดือน มิถุนายน - กรกฎาคม
การกระจายพันธุ์ :
-
กัมพูชา ประเทศไทยพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต้ บริเวณป่าดิบที่สูงจากระดับทะเลปานกลาง 150 - 400 เมตร
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด
ระบบนิเวศ
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Botrychium lanuginosum
Arthraxon breviaristalus
Viscum multinerve
จันทร์ทอง
Fraxinus floribunda
Caulokaempferia phulangkaensis
Tabernaemontana divaricata
Previous
Next