Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Anastrophus compressus
Anastrophus compressus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Anastrophus compressus
Schltr. ex Döll
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
broad leaf carpet grass, savanna grass
ชื่อไทย::
-
หญ้าใบมัน หญ้ามาเลเซีย(ภาคกลาง) หญ้าปากควาย(ภาคใต้)
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าใบมัน หญ้ามาเลเซีย (ภาคกลาง)หญ้าปากความ(ภาคใต้)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Axonopus
ปีที่ตีพิมพ์:
2546
วันที่อัพเดท :
23 พ.ค. 2567 10:48 น.
วันที่สร้าง:
23 พ.ค. 2567 10:48 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชอายุหลายปี ลำต้นแบนและอ่อนไม่มีขน มีลำต้นบนดินหรือไหลแตกรากตามข้อ ลิ้นใบ (ligule) เป็นแผ่นบางปลายเป็นเส้นๆ (membranous toothed) ใบมีขนสั้นๆน้อยมาก หลังใบไม่มีขน ขอบใบมีขนครุย ออกดอกเป็นช่อมี 3-5 raceme ปลายช่อดอกจะมี 2 racemeเรียงคู่กัน ดอกสีเขียวอ่อนยาวประมาณ 2 มม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ต้นสูง 36.2-73.4 เซนติเมตร ใบกว้าง 0.8-1.5 เซนติเมตร ยาว 10.9-27.2 เซนติเมตร กาบใบบีบตัวเป็นสันแบนยาว 7-14 เซนติเมตร ลิ้นใบ (ligule) เป็นแผ่นบางปลายเป็นเส้นๆ (membranous toothed) ใบมีขนสั้นๆน้อยมาก หลังใบไม่มีขน ขอบใบมีขนครุย ออกดอกเป็นช่อมี 3-5 raceme ปลายช่อดอกจะมี 2 racemeเรียงคู่กัน ช่อดอกยาว 27.7-39 เซนติเมตร ดอกสีเขียวอ่อนยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ที่ร่มเงาของสวนป่า สวนมะพร้าว สวนยางพารา และสวนปาล์มน้ำมัน
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ชัยภูมิ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ
สถานที่ชม :
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา, ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สตูล
การขยายพันธุ์ :
-
กล้าพันธุ์
การเก็บเกี่ยว :
-
เป็นแหล่งอาหารสัตว์ตามธรรมชาติของ โค กระบือ สำหรับแทะเล็ม ส่วนที่กินได้ (forage edible) คือใบรวมก้านใบย่อย
ที่มาของข้อมูล
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dasymaschalon yunnanense
Typhonium flagelliforme
Dehaasia incrassata
Pentace burmanica
Kaempferia albomaculata
เข็มป่า
Timonius flavescens
Previous
Next