Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bothriochloa caucasica
Bothriochloa caucasica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bothriochloa caucasica
(Trin.) C.E.Hubb.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
หญ้าแขมโคกเล็ก
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าแขมโคกเล็ก (นครศรีธรรมราช)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Bothriochloa
ปีที่ตีพิมพ์:
2548
วันที่อัพเดท :
12 มี.ค. 2567 10:55 น.
วันที่สร้าง:
12 มี.ค. 2567 10:55 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชอายุหลายปี (perennial)ลำต้นตั้งตรง ใบเป็นแบบรูปใบดาบ (ensiform) ใบเรียวไปที่ปลายใบ (acuminate) ขนาดของใบเล็กกว่าใบหญ้าแขมโคก (Botriochloa glabra) ใบค่อนข้างตั้งตรงโคนใบทำมุมประมาณ 45องศากับลำต้น (intermediate) แผ่นใบเรียบ ใบสีเขียว ผิวใบค่อนข้างหยาบ ขอบใบส่วนโคนใบมีขนสีขาวยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร ขึ้นกระจายอยู่เป็นเส้นๆเห็นชัดเจน เส้นกลางใบ (mid rib)ด้านหน้าใบเป็นเส้นเด่นชัด (pronounced) ด้านหลังเป็นสันเล็กๆยาวตลอดถึงปลายใบ ขอบใบมีรอยหยักแบบฟันเลื่อยถี่(serrulate) ลิ้นใบ (ligule) เป็นแผ่นเยื่อขอบลุ่ยเป็นเส้นๆ(membranous frayed)สีขาวอมน้ำตาลอ่อนยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร กาบใบเรียบ สีเขียว ลำต้นสีเขียวไม่มีขนคลุม ยอดอ่อนโผล่แบบม้วน(rolled in bud) ออกดอกเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ช่อดอกออกที่ปลายยอดและตาข้างแบบsub digitate panicle หรือช่อดอกที่มีแขนงช่อดอกแบบracemeแตกแขนงออกรอบๆแกนช่อดอกรวม กลุ่มดอกย่อย (spikelet) เกาะกันเป็นคู่ เรียงสลับบนแกนช่อดอก กลุ่มดอกบน รูปรี สีเขียวอมม่วง ยาวประมาณ 2.5 มิลลิเมตร ไม่มีก้านดอก (sessile) มีหาง (awn) ยาว 1.4-1.5 เซนติเมตร ออกจากปลายดอก เป็นดอกที่สมบูรณ์เพศ (fertile) กลุ่มดอกล่างมีขนาดเท่าๆกับดอกบนและมีก้าน (pedicelled) เป็นดอกหมัน(sterile)และมีขนจำนวนเล็กน้อยที่ขึ้นอยู่กระจัดกระจาย (scattered hairs) ที่โคนก้านดอกอับเรณู (anther) สีเหลืองอมน้ำตาล ดอกแก่ร่วงทั้งชุด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ลำต้นตั้งตรง สูง 85.95-107.65 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 1.22-2.16 มิลลิเมตร ความยาวใบ 11.13-24.73 เซนติเมตร กว้าง 0.53-0.75 เซนติเมตร ความยาวกาบใบ 6.33-14.33 เซนติเมตร ช่อดอกรวม (inflorescence) ยาว 32.75-42.07 เซนติเมตร ช่อดอกย่อย (raceme) ยาว 1.5-5 เซนติเมตร
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรีธรรมราช, ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตตำบลร่อนพิบูลย์ อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตำบลเวียงตาล อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
ที่มาของข้อมูล
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dalbergia hancei
ก่อใบแหลม
Lithocarpus magneinii
ทองอุไร
Tecoma stans
Diplospora truncata
Acalypha Aff.
Psychotria monticola
Previous
Next