Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bulbophyllum reclusum
Bulbophyllum reclusum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bulbophyllum reclusum
Seidenf.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
กีบม้าหลวง
-
สิงโตช่อทอง
ชื่อท้องถิ่น::
-
สิงโตช่อทอง
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Bulbophyllum
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:08 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:08 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic orchid.
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 4-8 ซม. ลำลูกกล้วยรูปรี สูง 2 ซม. ใบ รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 9-12 ซม. จำนวน 1 ใบต่อลำลูกกล้วย ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 15-20 ซม. มีกาบใบหุ้มโคนก้านช่อ กลีบเลี้ยงสีเหลืองเข้มมีขีดสีน้ำตาล กลีบดอกสีเหลืองเข้ม กลีบปากสีเหลืองเข้มและมีประสีน้ำตาลอมส้มเกือบทั่วทั้งกลีบ ดอกบานเต็มที่กว้าง 0.8 ซม. เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบตามป่าดิบเขา ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ออกดอกช่วง เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 4-8 ซม. ลำลูกกล้วยรูปรี สูง 2 ซม. ใบ รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 9-12 ซม. จำนวน 1 ใบต่อลำลูกกล้วย ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 15-20 ซม. มีกาบใบหุ้มโคนก้านช่อ กลีบเลี้ยงสีเหลืองเข้มมีขีดสีน้ำตาล กลีบดอกสีเหลืองเข้ม กลีบปากสีเหลืองเข้มและมีประสีน้ำตาลอมส้มเกือบทั่วทั้งกลีบ ดอกบานเต็มที่กว้าง 0.8 ซม. เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบตามป่าดิบเขา ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ออกดอกช่วง เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 4-8 ซม. ลำลูกกล้วยรูปรี สูง 2 ซม. ใบ รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 9-12 ซม. จำนวน 1 ใบต่อลำลูกกล้วย ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 15-20 ซม. มีกาบใบหุ้มโคนก้านช่อ กลีบเลี้ยงสีเหลืองเข้มมีขีดสีน้ำตาล กลีบดอกสีเหลืองเข้ม กลีบปากสีเหลืองเข้มและมีประสีน้ำตาลอมส้มเกือบทั่วทั้งกลีบ ดอกบานเต็มที่กว้าง 0.8 ซม. เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบตามป่าดิบเขา ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ออกดอกช่วง เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 4-8 ซม. ลำลูกกล้วยรูปรี สูง 2 ซม. ใบ รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 9-12 ซม. จำนวน 1 ใบต่อลำลูกกล้วย ดอก ออกเป็นช่อจากโคนกอ ยาว 15-20 ซม. มีกาบใบหุ้มโคนก้านช่อ กลีบเลี้ยงสีเหลืองเข้มมีขีดสีน้ำตาล กลีบดอกสีเหลืองเข้ม กลีบปากสีเหลืองเข้มและมีประสีน้ำตาลอมส้มเกือบทั่วทั้งกลีบ ดอกบานเต็มที่กว้าง 0.8 ซม. เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบตามป่าดิบเขา ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ออกดอกช่วง เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
ระบบนิเวศ :
-
Dry evergreen forest, dry deciduous dipterocarp forest, 300-500 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Endemic.
-
เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบตามป่าดิบเขาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
-
NE, E Thailand: Sakon Nakhon, Ubon Ratchathani
-
เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบตามป่าดิบเขาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
-
เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบตามป่าดิบเขาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
-
เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบตามป่าดิบเขาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
SakonNakhon,UbonRatchathani
-
Endemic
-
สกลนคร
-
อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กล้วยไม้อิงอาศัย
-
กล้วยไม้อิงอาศัย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Deciduous dipterocarp forest.
-
ผาแต้ม
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
บัญชีแนบท้ายประกาศอนุสัญญา Cites
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2023-02-23)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข II
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 8 ORCHIDS OF THAILAND, 2542
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Cayratia emarginata
ก่อปลายจัก
Quercus rex
Iravadia ornate
Aeschynanthus fulgens
Sunipia soidaoensis
Eranthemum austrosinense
Previous
Next