Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Buchannia glabra
Buchannia glabra
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bretschneidera sinensis
Hemsl.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
มะม่วงนก
ชื่อท้องถิ่น::
-
มะม่วงหัวแมงวัน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Brassicales
วงศ์::
Bretschneideraceae
สกุล:
Buchannia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 8 ม. มียางสีดำ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 5-7.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. โคนและปลายใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเกลี้ยง เหนียว และเป็นคลื่นเล็กน้อย เส้นใบด้านล่างนูนเป็นร่างแหชัดเจน ก้านใบยาว 1-3 ซม. ดอกสีเขียวแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นบริเวณปลายยอด มีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุม ดอกย่อยขนาดผ่าศูนย์กลาง 3.5 มม. เกสรผู้ 10 อัน ผลสีม่วงแดง รูปไต ขนาด 1-2 ซม. ผิวเกลี้ยง
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 8 ม. มียางสีดำ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 5-7.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. โคนและปลายใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเกลี้ยง เหนียว และเป็นคลื่นเล็กน้อย เส้นใบด้านล่างนูนเป็นร่างแหชัดเจน ก้านใบยาว 1-3 ซม. ดอกสีเขียวแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นบริเวณปลายยอด มีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุม ดอกย่อยขนาดผ่าศูนย์กลาง 3.5 มม. เกสรผู้ 10 อัน ผลสีม่วงแดง รูปไต ขนาด 1-2 ซม. ผิวเกลี้ยง
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 8 ม. มียางสีดำ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 5-7.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. โคนและปลายใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเกลี้ยง เหนียว และเป็นคลื่นเล็กน้อย เส้นใบด้านล่างนูนเป็นร่างแหชัดเจน ก้านใบยาว 1-3 ซม. ดอกสีเขียวแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นบริเวณปลายยอด มีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุม ดอกย่อยขนาดผ่าศูนย์กลาง 3.5 มม. เกสรผู้ 10 อัน ผลสีม่วงแดง รูปไต ขนาด 1-2 ซม. ผิวเกลี้ยง
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 8 ม. มียางสีดำ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 5-7.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. โคนและปลายใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเกลี้ยง เหนียว และเป็นคลื่นเล็กน้อย เส้นใบด้านล่างนูนเป็นร่างแหชัดเจน ก้านใบยาว 1-3 ซม. ดอกสีเขียวแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นบริเวณปลายยอด มีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุม ดอกย่อยขนาดผ่าศูนย์กลาง 3.5 มม. เกสรผู้ 10 อัน ผลสีม่วงแดง รูปไต ขนาด 1-2 ซม. ผิวเกลี้ยง
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นตามป่าผลัดใบ ตั้งแต่ความสูงใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 300 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นตามป่าผลัดใบ ตั้งแต่ความสูงใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 300 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นตามป่าผลัดใบ ตั้งแต่ความสูงใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 300 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นตามป่าผลัดใบ ตั้งแต่ความสูงใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 300 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Psychotria lutescens
Trisepalum glanduliferum
Ludwigia perennis
หวายแบนชมพู
Dendrobium tuananhii
Syzygium aksornae
Cyclosorus hirtisorus
Previous
Next