Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bruguiera hainesii
Bruguiera hainesii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bruguiera hainesii
C.G.Rogers
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
ถั่วจัน
-
พังกา-ถั่วขาว
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Rhizophoraceae
สกุล:
Bruguiera
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 18:38 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 18:38 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง–ปากน้ำตรัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น (Tree)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 15-25 ม. เปลือกเรียบสีน้ำตาลอมเทาถึงสีน้ำตาลเข้ม มีช่องอากาศขนาดใหญ่กระจายทั่วไป โคนต้นมีพูพอนเล็กน้อย รากหายใจคล้ายรูปหัวเข่า
ใบ เดี่ยว คล้ายใบของถั่วขาว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ออกเป็นกระจุกตามปลายกิ่ง แผ่นใบรูปรี ถึงรูปรีแกมขอบขนาน ขนาด 4-7x8-15 ซม. โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลมสั้นๆ เส้นใบแบบร่างแหขนนก มองเห็นไม่ชัดเจน เส้นกลางใบยุบตัว เส้นแขนง 6-8 คู่ ปรากฏลางๆ ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีเขียวอมเหลือง เนื้อใบอวบน้ำแกมหนาคล้ายแผ่นหนัง ก้านใบยาว 2-4 ซม. สีเขียวอมเหลือง ด้านบนเป็นร่อง หูใบยาว 3-5 ซม. ประกบกันเป็นคู่ที่ปลายกิ่ง
ดอก แบบช่อกระจุกสองด้าน ออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่แต่ละช่อมี 2(3) ดอก พบน้อยที่ออกเป็นดอกเดี่ยว ก้านช่อดอกยาว 0.7-1.5 ซม. ดอกตูมรูปทรงกระสวย ยาว 1.8-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงสีเหลือง อมเขียวถึงสีนวล โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดรูประฆัง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 ซม. มีสันนูนเล็กน้อยเฉพาะส่วนบน ปลายแยกเป็นแฉกแคบ ๆ 10 แฉก แผ่บานโค้งขึ้น ยาวไล่เลี่ยกับหลอดกลีบเลี้ยง กลีบดอกแยกกัน 10 กลีบ รูปขอบขนาน สีขาวหรือสีนวล ยาว 0.7-1 ซม. ปลายกลีบเว้าหยักลึก ลงมา 1/3 ของกลีบ เป็น 2 แฉก ปลายแหลมและมีรยางค์เป็นเส้นแข็งติดที่ปลายแฉก 2-4 อัน ขอบกลีบใกล้โคนและส่วนปลายมีขนคล้ายไหมปกคลุม ออกดอกระหว่างเดือน กันยายน–พฤศจิกายน
ผล แบบผลมีเนื้อเมล็ดเดียว รูปทรงกระบอก ยาว 1.5-2 ซม. ผิวเรียบ สีเขียวอมเหลืองถึงสีแดงเรื่อ หลอดจุกผลรูปทรงระฆัง ส่วนบนโค้งมน ผิวเรียบ แฉกจุกผลโค้งงอขึ้นไม่เป็นระเบียบ เมล็ดงอกตั้งแต่อยู่บนต้น ลำต้นใต้ใบเลี้ยงหรือ “ฝัก” รูปทรงกระบอก หรือรูปทรงกระบอกแกมรูปกระสวย โค้งเล็กน้อย ปลายสอบทู่ ขนาด 0.8-1.2x10-20 ซม. ผิวเรียบ สีเขียวอมเหลืองแล้วเปลี่ยนเป็นสีม่วงอมเทาเมื่อแก่ ออกผลระหว่างเดือน กันยายน–พฤศจิกายน
การกระจายพันธุ์ :
-
บริเวณอ่าวเบงกอล ตอนใต้ของพม่า ไทย คาบสมุทรมลายู ตลอดจนหมู่เกาะของมาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และปาปัวนิวกินี
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA999206
999206
2
PRJNA794248
794248
3
PRJNA770684
770684
4
PRJNA769540
769540
5
PRJNA735059
735059
6
PRJNA724818
724818
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pterobryopsis divergens
Terminalia darfeuillana
คันแหลนใบยาว
Hypobathrum racemosum
Ardisia lenticellata
Macaranga kurzii
Strobilanthes corrugata
Previous
Next