Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bretschneidera sinensis
Bretschneidera sinensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bretschneidera sinensis
Hemsl.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Bretschneidera yunshanensis Chun & F.C.How
ชื่อไทย:
-
ชมภูพูคา
-
ชมพูภูคา
ชื่อท้องถิ่น::
-
ชมพูภูคา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Brassicales
วงศ์::
Bretschneideraceae
สกุล:
Bretschneidera
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 25 ม. เปลือกเรียบสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ยาว 30-80 ซม. ใบย่อยไม่มีก้านใบ รูปหอกถึงรูปไข่ กว้าง 2.5-6 ซมง ยาว 8-25 ซม. โคนใบมนไม่เท่ากัน ปลายใบแหลม ดอกสีชมพู คล้ายรูประฆัง ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ช่อยาวได้ถึง 40 ซม. กลีบรองดอกขนาดใหญ่ รูปถ้วยขอบหยักตื้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กว้าง โคนกลีบเรียวยาว ปลายกลีบม้วนออกด้านนอก ขนาด 1.8-2 ซม. กลีบบนมักคว่ำลง เกสรผู้ 8 อัน ผลรูปกระสวยแก่แล้วแตก เมล็ดรูปรี กว้าง 12 มม. ยาว 20 มม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 25 ม. เปลือกเรียบสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ยาว 30-80 ซม. ใบย่อยไม่มีก้านใบ รูปหอกถึงรูปไข่ กว้าง 2.5-6 ซมง ยาว 8-25 ซม. โคนใบมนไม่เท่ากัน ปลายใบแหลม ดอกสีชมพู คล้ายรูประฆัง ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ช่อยาวได้ถึง 40 ซม. กลีบรองดอกขนาดใหญ่ รูปถ้วยขอบหยักตื้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กว้าง โคนกลีบเรียวยาว ปลายกลีบม้วนออกด้านนอก ขนาด 1.8-2 ซม. กลีบบนมักคว่ำลง เกสรผู้ 8 อัน ผลรูปกระสวยแก่แล้วแตก เมล็ดรูปรี กว้าง 12 มม. ยาว 20 มม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 25 ม. เปลือกเรียบสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ยาว 30-80 ซม. ใบย่อยไม่มีก้านใบ รูปหอกถึงรูปไข่ กว้าง 2.5-6 ซมง ยาว 8-25 ซม. โคนใบมนไม่เท่ากัน ปลายใบแหลม ดอกสีชมพู คล้ายรูประฆัง ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ช่อยาวได้ถึง 40 ซม. กลีบรองดอกขนาดใหญ่ รูปถ้วยขอบหยักตื้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กว้าง โคนกลีบเรียวยาว ปลายกลีบม้วนออกด้านนอก ขนาด 1.8-2 ซม. กลีบบนมักคว่ำลง เกสรผู้ 8 อัน ผลรูปกระสวยแก่แล้วแตก เมล็ดรูปรี กว้าง 12 มม. ยาว 20 มม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 25 ม. เปลือกเรียบสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ยาว 30-80 ซม. ใบย่อยไม่มีก้านใบ รูปหอกถึงรูปไข่ กว้าง 2.5-6 ซมง ยาว 8-25 ซม. โคนใบมนไม่เท่ากัน ปลายใบแหลม ดอกสีชมพู คล้ายรูประฆัง ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ช่อยาวได้ถึง 40 ซม. กลีบรองดอกขนาดใหญ่ รูปถ้วยขอบหยักตื้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กว้าง โคนกลีบเรียวยาว ปลายกลีบม้วนออกด้านนอก ขนาด 1.8-2 ซม. กลีบบนมักคว่ำลง เกสรผู้ 8 อัน ผลรูปกระสวยแก่แล้วแตก เมล็ดรูปรี กว้าง 12 มม. ยาว 20 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในประเทศจีนตอนใต้ และตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ในประเทศไทยเป็นพันธุ์ไม้หายากและใกล้สูญพันธุ์ พบแห่งเดียวที่ดอยภูคา จ.น่าน ที่ระดับความสูง 1,500 ม. ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม ต้นกล้าขึ้นได้ดีที่สวนพฤกษศาสตร์ฯ จ.เชียงใหม่
-
China, Vietnam (Tonkin), N Thailand: Nan (Doi Phukha)
-
พบในประเทศจีนตอนใต้ และตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ในประเทศไทยเป็นพันธุ์ไม้หายากและใกล้สูญพันธุ์ พบแห่งเดียวที่ดอยภูคา จ.น่าน ที่ระดับความสูง 1,500 ม. ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม ต้นกล้าขึ้นได้ดีที่สวนพฤกษศาสตร์ฯ จ.เชียงใหม่
-
พบในประเทศจีนตอนใต้ และตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ในประเทศไทยเป็นพันธุ์ไม้หายากและใกล้สูญพันธุ์ พบแห่งเดียวที่ดอยภูคา จ.น่าน ที่ระดับความสูง 1,500 ม. ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม ต้นกล้าขึ้นได้ดีที่สวนพฤกษศาสตร์ฯ จ.เชียงใหม่
-
พบในประเทศจีนตอนใต้ และตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ในประเทศไทยเป็นพันธุ์ไม้หายากและใกล้สูญพันธุ์ พบแห่งเดียวที่ดอยภูคา จ.น่าน ที่ระดับความสูง 1,500 ม. ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม ต้นกล้าขึ้นได้ดีที่สวนพฤกษศาสตร์ฯ จ.เชียงใหม่
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Lower montane forest, 1300 − 1700 m.
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
7398
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
7411
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
90290
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
99100
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA806513
806513
2
PRJEB49299
787880
3
PRJNA779618
779618
4
PRJNA721741
721741
5
PRJNA675702
675702
6
PRJNA675701
675701
7
PRJNA664252
664252
8
PRJNA663921
663921
9
PRJNA662820
662820
10
PRJNA660272
660272
11
PRJNA479155
479155
12
PRJNA422635
422635
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Sporobolus kerrii
Monoraphidium irregulare
Hypericum wightianum
Dalbergia godefroyi
Artocarpus thailandica
Musa laterita
Previous
Next