Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Aglaia dookkoo
Aglaia dookkoo
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Aglaia
dookkoo . Griff.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ลองกอง
ชื่อท้องถิ่น::
-
ลองกอง(สุราษฎร์ธานี); ดูกู, โดกอง(มลายู นราธิวาส);
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Sapindales
วงศ์::
Meliaceae
สกุล:
Lansium
วันที่อัพเดท :
13 ก.พ. 2566 23:34 น.
วันที่สร้าง:
13 ก.พ. 2566 23:34 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ลำต้นของลองกองค่อนข้างกลมและตั้งตรง ความสูงโดยทั่วไปจะอยู่ราว ๆ 15-30 เมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 30-40 เซนติเมตร เปลือกลำต้นค่อนข้างเรียบบาง มีสีขาวปนน้ำตาล
ใบลองกองเป็นใบย่อยแตกออกจากก้านใบเป็นคู่ตรงข้าม ก้านใบยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ใบย่อยกว้างประมาณ 5-7.5 เซนติเมตร ยาว 10-15 เซนติเมตรโดยประมาณ ใบมีขนาดใหญ่ หนา ใต้ใบเรียบไม่มีขน ด้านหน้าของใบมีสีเขียวเข้มเป็นมัน ส่วนด้านหลังใบเป็นสีเขียวจาง ลักษณะใบยาวรีเป็นรูปไข่ ปลายใบมนเป็นคลื่น เส้นใบย่อยลึก
ดอกลองกองเป็นดอกรวมอยู่ในช่อดอก การจัดเรียงของดอกภายในช่อเป็นแบบสลับกัน เป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน กลีบของดอก มี 5 กลีบ ดอกสามารถเจริญเป็นผลโดยไม่ต้องมีการผสมเกสร
ส่วนผลของลองกองมีลักษณะกลมรีเล็กน้อย จำนวนผล 10-40 ผลต่อช่อ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2-2.5 เซนติเมตร บนผิวเปลือกจะมีตุ่มนูนเล็ก ๆ เป็นต่อมน้ำหวาน เปลือกแท้จะไม่มียาง
เมล็ดลองกองในหนึ่งผลจะมีเมล็ดน้อยเพียง 1-2 เมล็ด หรือบางผลมีเพียงเมล็ดลีบเท่านั้น เมล็ดที่สมบูรณ์ค่อนข้างใหญ่ รูปร่างกลมรี ด้านหนึ่งโค้งมน ด้านหนึ่งแบนราบ มีสีเขียวอมเหลือง มีรอยแตก
การขยายพันธุ์ :
-
นิยมขยายพันธุ์โดยการเสียบยอด การปลูกเตรียมหลุมปลูกขนาด 50x50x50 เซนติเมตร
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
สร้อยกระจับ
Ophiorrhiza angkae
Glycosmis suberosa
Viscum ovalifolium
Hedyotis oligocephala
Mallotus coudercii
Bulbophyllum trichocephalum
Previous
Next