Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Coleus parvifolius
Coleus parvifolius
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Coleus parvifolius
Benth.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
มันขี้หนู
ชื่อท้องถิ่น::
-
มันขี้หนู (นครศรีธรรมราช, สงขลา) มันหนู (ใต้) อุปิกะลัง (นราธิวาส, มาเลเซีย)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Lamiaceae
สกุล:
Coleus
วันที่อัพเดท :
13 ก.พ. 2566 23:33 น.
วันที่สร้าง:
13 ก.พ. 2566 23:33 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มันขี้หนูเป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก มีหัวใต้ดินที่เติบโตจากราก สามารถรับประทานและใช้ขยายพันธุ์ต่อไปได้
ต้น : ลำต้นสูงประมาณ 1- 2 ฟุต ลำต้นอวบน้ำมีขนปกคลุม ลำต้นเป็นสีเหลี่ยมและทอดเลื้อย
ใบ : ใบเดี่ยวรูปกลมแกมไข่ ขอบใบหยัก ปลายใบมน ออกตรงข้ามสลับตั้งฉากกันโดยออกจากหัว ใบแผ่บนผิวดิน ขนาดของใบ ยาวประมาณ 6.5 – 8.5 เซนติเมตร กว้างประมาณ 5 – 7 เซนติเมตร ก้านใบยาว 4 – 5 เซนติเมตร
ดอก : มีขนาดเล็กสีขาวอมม่วง ช่อดอกออกที่ปลายยอดชูตั้งขึ้นสูง ไม่ค่อยติดผล
หัว : มันขี้หนูมีหัวขนาดเล็กที่พัฒนาจากรากเพื่อสะสมอาหารที่เกิดขึ้นบริเวณข้อของลำต้นขนาดหัวยาวประมาณ 3- 5 เซนติเมตร ทรงกระบอกหัวท้ายป้าน มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5 – 3 เซนติเมตร ผิวเปลือกสีน้ำตาลเนื้อในมีสีขาวหรือม่วง หัวคือส่วนที่ใช้รับประทานได้ มีรสชาติมัน
-
มันขี้หนูเป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก มีหัวใต้ดินที่เติบโตจากราก สามารถรับประทานและใช้ขยายพันธุ์ต่อไปได้
ต้น : ลำต้นสูงประมาณ 1- 2 ฟุต ลำต้นอวบน้ำมีขนปกคลุม ลำต้นเป็นสีเหลี่ยมและทอดเลื้อย
ใบ : ใบเดี่ยวรูปกลมแกมไข่ ขอบใบหยัก ปลายใบมน ออกตรงข้ามสลับตั้งฉากกันโดยออกจากหัว ใบแผ่บนผิวดิน ขนาดของใบ ยาวประมาณ 6.5 – 8.5 เซนติเมตร กว้างประมาณ 5 – 7 เซนติเมตร ก้านใบยาว 4 – 5 เซนติเมตร
ดอก : มีขนาดเล็กสีขาวอมม่วง ช่อดอกออกที่ปลายยอดชูตั้งขึ้นสูง ไม่ค่อยติดผล
หัว : มันขี้หนูมีหัวขนาดเล็กที่พัฒนาจากรากเพื่อสะสมอาหารที่เกิดขึ้นบริเวณข้อของลำต้นขนาดหัวยาวประมาณ 3- 5 เซนติเมตร ทรงกระบอกหัวท้ายป้าน มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5 – 3 เซนติเมตร ผิวเปลือกสีน้ำตาลเนื้อในมีสีขาวหรือม่วง หัวคือส่วนที่ใช้รับประทานได้ มีรสชาติมัน
การขยายพันธุ์ :
-
นำหัวย่อยเล็กๆ มาปลูกใหม่ในช่วงฤดูร้อน ใบจะเจริญจากหัวเติบโตต่อไป
-
นำหัวย่อยเล็กๆ มาปลูกใหม่ในช่วงฤดูร้อน ใบจะเจริญจากหัวเติบโตต่อไป
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dendrocnide stimulans
Nephroma tropicum
Atrichum henryi
มะพลับ
Diospyros aneolata
แก้วมือไว
Pterolobium micranthum
Iravadia ornate
Previous
Next