Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hopea avellanea
Hopea avellanea
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hopea
avellanea . Heim
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ตะเคียนทราย
ชื่อท้องถิ่น::
-
ตะเคียนทราย, ตะเคียนดง(ตะวันออกเฉียงเหนือ)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malvales
วงศ์::
Dipterocarpaceae
สกุล:
Hopea
วันที่อัพเดท :
13 ก.พ. 2566 23:28 น.
วันที่สร้าง:
13 ก.พ. 2566 23:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ ๑๕-๒๐ เมตร ลำต้นค่อนข้างเปลา ตรง เรือนยอดทึบ เป็นรูปกรวยคว่ำ กระพี้สีน้ำตาลอ่อนออกเหลืองปนเขียว กิ่งอ่อนเกลี้ยง ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว รูปมน โคนมน ปลายหยักคอด เป็นติ่งทู่ๆ เนื้อค่อนข้างหนา เกลี้ยงเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง แต่ละช่อยาวประมาณ ๒ ซม. ผลรูปกรวยคว่ำ ขนาด ๕ x ๘ มม. มีปีกยาว รูปใบพาย ๒ ปีก ลักษณะเนื้อไม้ แก่นสีน้ำตาลเข้ม ออกเหลืองปนเขียวเล็กน้อย เมื่อถูกอากาศนานๆ สีจะเข้มขึ้นเล็กน้อย เสี้ยนตรง หรือค่อนข้างตรง เนื้อค่อนข้างละเอียด แข็ง มีริ้วบายค่อนข้างสวยงาม ไสกบ ตบแต่งไม่สู้ยากนัก ขัดชักเงาได้ดี
-
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ ๑๕-๒๐ เมตร ลำต้นค่อนข้างเปลา ตรง เรือนยอดทึบ เป็นรูปกรวยคว่ำ กระพี้สีน้ำตาลอ่อนออกเหลืองปนเขียว กิ่งอ่อนเกลี้ยง ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว รูปมน โคนมน ปลายหยักคอด เป็นติ่งทู่ๆ เนื้อค่อนข้างหนา เกลี้ยงเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง แต่ละช่อยาวประมาณ ๒ ซม. ผลรูปกรวยคว่ำ ขนาด ๕ x ๘ มม. มีปีกยาว รูปใบพาย ๒ ปีก ลักษณะเนื้อไม้ แก่นสีน้ำตาลเข้ม ออกเหลืองปนเขียวเล็กน้อย เมื่อถูกอากาศนานๆ สีจะเข้มขึ้นเล็กน้อย เสี้ยนตรง หรือค่อนข้างตรง เนื้อค่อนข้างละเอียด แข็ง มีริ้วบายค่อนข้างสวยงาม ไสกบ ตบแต่งไม่สู้ยากนัก ขัดชักเงาได้ดี
-
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ ๑๕-๒๐ เมตร ลำต้นค่อนข้างเปลา ตรง เรือนยอดทึบ เป็นรูปกรวยคว่ำ กระพี้สีน้ำตาลอ่อนออกเหลืองปนเขียว กิ่งอ่อนเกลี้ยง ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว รูปมน โคนมน ปลายหยักคอด เป็นติ่งทู่ๆ เนื้อค่อนข้างหนา เกลี้ยงเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง แต่ละช่อยาวประมาณ ๒ ซม. ผลรูปกรวยคว่ำ ขนาด ๕ x ๘ มม. มีปีกยาว รูปใบพาย ๒ ปีก ลักษณะเนื้อไม้ แก่นสีน้ำตาลเข้ม ออกเหลืองปนเขียวเล็กน้อย เมื่อถูกอากาศนานๆ สีจะเข้มขึ้นเล็กน้อย เสี้ยนตรง หรือค่อนข้างตรง เนื้อค่อนข้างละเอียด แข็ง มีริ้วบายค่อนข้างสวยงาม ไสกบ ตบแต่งไม่สู้ยากนัก ขัดชักเงาได้ดี
-
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ ๑๕-๒๐ เมตร ลำต้นค่อนข้างเปลา ตรง เรือนยอดทึบ เป็นรูปกรวยคว่ำ กระพี้สีน้ำตาลอ่อนออกเหลืองปนเขียว กิ่งอ่อนเกลี้ยง ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว รูปมน โคนมน ปลายหยักคอด เป็นติ่งทู่ๆ เนื้อค่อนข้างหนา เกลี้ยงเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง แต่ละช่อยาวประมาณ ๒ ซม. ผลรูปกรวยคว่ำ ขนาด ๕ x ๘ มม. มีปีกยาว รูปใบพาย ๒ ปีก ลักษณะเนื้อไม้ แก่นสีน้ำตาลเข้ม ออกเหลืองปนเขียวเล็กน้อย เมื่อถูกอากาศนานๆ สีจะเข้มขึ้นเล็กน้อย เสี้ยนตรง หรือค่อนข้างตรง เนื้อค่อนข้างละเอียด แข็ง มีริ้วบายค่อนข้างสวยงาม ไสกบ ตบแต่งไม่สู้ยากนัก ขัดชักเงาได้ดี
-
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ ๑๕-๒๐ เมตร ลำต้นค่อนข้างเปลา ตรง เรือนยอดทึบ เป็นรูปกรวยคว่ำ กระพี้สีน้ำตาลอ่อนออกเหลืองปนเขียว กิ่งอ่อนเกลี้ยง ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว รูปมน โคนมน ปลายหยักคอด เป็นติ่งทู่ๆ เนื้อค่อนข้างหนา เกลี้ยงเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง แต่ละช่อยาวประมาณ ๒ ซม. ผลรูปกรวยคว่ำ ขนาด ๕ x ๘ มม. มีปีกยาว รูปใบพาย ๒ ปีก ลักษณะเนื้อไม้ แก่นสีน้ำตาลเข้ม ออกเหลืองปนเขียวเล็กน้อย เมื่อถูกอากาศนานๆ สีจะเข้มขึ้นเล็กน้อย เสี้ยนตรง หรือค่อนข้างตรง เนื้อค่อนข้างละเอียด แข็ง มีริ้วบายค่อนข้างสวยงาม ไสกบ ตบแต่งไม่สู้ยากนัก ขัดชักเงาได้ดี
การขยายพันธุ์ :
-
การผลิตกล้าจากเมล็ด สแต่ปัญหาในการผลิตกล้าจากเมล็ดตะเคียนทองคือ เมล็ดไม้ตะเคียนทองเป็นเมล็ดที่สูญเสียความงอกไว (recalcitrant seed) มีความยุ่งยากในการรักษาเมล็ด สืบเนื่องจากเมล็ดมีความชื้นสูง ซึ่งพร้อมที่จะงอกทันทีเมื่ออยู่ในสภาวะสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม นอกจากนี้ไม้ตะเคียนทองจะให้เมล็ด 2 - 3 ปีต่อครั้ง แต่ละครั้งก็ให้เมล็ดไม่มาก เนื่องจากดอกร่วงหล่นเสียก่อนได้รับการผสมเกสร
-
การผลิตกล้าจากเมล็ด สแต่ปัญหาในการผลิตกล้าจากเมล็ดตะเคียนทองคือ เมล็ดไม้ตะเคียนทองเป็นเมล็ดที่สูญเสียความงอกไว (recalcitrant seed) มีความยุ่งยากในการรักษาเมล็ด สืบเนื่องจากเมล็ดมีความชื้นสูง ซึ่งพร้อมที่จะงอกทันทีเมื่ออยู่ในสภาวะสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม นอกจากนี้ไม้ตะเคียนทองจะให้เมล็ด 2 - 3 ปีต่อครั้ง แต่ละครั้งก็ให้เมล็ดไม่มาก เนื่องจากดอกร่วงหล่นเสียก่อนได้รับการผสมเกสร
-
การผลิตกล้าจากเมล็ด สแต่ปัญหาในการผลิตกล้าจากเมล็ดตะเคียนทองคือ เมล็ดไม้ตะเคียนทองเป็นเมล็ดที่สูญเสียความงอกไว (recalcitrant seed) มีความยุ่งยากในการรักษาเมล็ด สืบเนื่องจากเมล็ดมีความชื้นสูง ซึ่งพร้อมที่จะงอกทันทีเมื่ออยู่ในสภาวะสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม นอกจากนี้ไม้ตะเคียนทองจะให้เมล็ด 2 - 3 ปีต่อครั้ง แต่ละครั้งก็ให้เมล็ดไม่มาก เนื่องจากดอกร่วงหล่นเสียก่อนได้รับการผสมเกสร
-
การผลิตกล้าจากเมล็ด สแต่ปัญหาในการผลิตกล้าจากเมล็ดตะเคียนทองคือ เมล็ดไม้ตะเคียนทองเป็นเมล็ดที่สูญเสียความงอกไว (recalcitrant seed) มีความยุ่งยากในการรักษาเมล็ด สืบเนื่องจากเมล็ดมีความชื้นสูง ซึ่งพร้อมที่จะงอกทันทีเมื่ออยู่ในสภาวะสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม นอกจากนี้ไม้ตะเคียนทองจะให้เมล็ด 2 - 3 ปีต่อครั้ง แต่ละครั้งก็ให้เมล็ดไม่มาก เนื่องจากดอกร่วงหล่นเสียก่อนได้รับการผสมเกสร
-
การผลิตกล้าจากเมล็ด สแต่ปัญหาในการผลิตกล้าจากเมล็ดตะเคียนทองคือ เมล็ดไม้ตะเคียนทองเป็นเมล็ดที่สูญเสียความงอกไว (recalcitrant seed) มีความยุ่งยากในการรักษาเมล็ด สืบเนื่องจากเมล็ดมีความชื้นสูง ซึ่งพร้อมที่จะงอกทันทีเมื่ออยู่ในสภาวะสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม นอกจากนี้ไม้ตะเคียนทองจะให้เมล็ด 2 - 3 ปีต่อครั้ง แต่ละครั้งก็ให้เมล็ดไม่มาก เนื่องจากดอกร่วงหล่นเสียก่อนได้รับการผสมเกสร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรีธรรมราช
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1056647
1056647
2
PRJNA962859
962859
3
PRJNA795198
795198
4
PRJNA707980
707980
5
PRJNA700325
700325
6
PRJEB42299
700048
7
PRJNA692575
692575
8
PRJNA662089
662089
9
PRJNA627541
627541
10
PRJNA573134
573134
11
PRJNA419625
419625
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Trichosanthes pubera
Pueraria stricta
Halimeda opuntia
Cymbopogon microstachys
Stereophyllum tavoyense
Persicaria paradoxa
Previous
Next