Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Parishia pubescens
Parishia pubescens
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Parishia
pubescens . Hook. f.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ชันรูจี
ชื่อท้องถิ่น::
-
ชันรูจี(พัทลุง),ช้องลิง(ปัตตานี),ตีนะ(ระนอง),เตยนะ(พังงา),ละแจะ,ล่าแจ๊ะ,ลือเมาะบาบี(มลายู นราธิวาส)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Sapindales
วงศ์::
Anacardiaceae
สกุล:
Parishia
วันที่อัพเดท :
13 ก.พ. 2566 23:27 น.
วันที่สร้าง:
13 ก.พ. 2566 23:27 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ชันรูจีเป็นไม้ต้น สูง 5–25 ม. กิ่งอ่อน ใบอ่อนและช่อดอก มีขนสีสนิมเหล็กปกคลุม เมื่อแก่เกลี้ยง ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ก้านใบยาว 7–9 ซม. มีใบย่อย 4–6 คู่ แผ่นใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ หรือรูปหอกแกมรูปรี กว้าง 2.5–6 ซม. ยาว 5–18 ซม. ปลายเรียวแหลม หรือค่อยๆ เรียวแหลมไปตั้งแต่กลางใบ โคนกลมเบี้ยว หรือกึ่งรูปหัวใจ ผิวใบมีขนกระจายทั่วไป หรือเฉพาะบนเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบย่อย 8–14 คู่ ก้านใบย่อยยาว 0.3–0.9 ซม. ดอก เล็ก สีขาว หรือชมพู ออกเป็นช่อแยกแขนง ผล ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8–1.4 ซม. มีขนนุ่มสีน้ำตาล มีปีกรูปขอบขนาน กว้าง 0.8 ซม. ยาว 8.5–11 ซม. ปลายมน หรือค่อนข้างแหลม ชันรูจีมีการกระจายพันธุ์ในป่าดิบและบนเขาหินปูนทางภาคใต้ ที่ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 50–200 ม.
-
ชันรูจีเป็นไม้ต้น สูง 5–25 ม. กิ่งอ่อน ใบอ่อนและช่อดอก มีขนสีสนิมเหล็กปกคลุม เมื่อแก่เกลี้ยง ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ก้านใบยาว 7–9 ซม. มีใบย่อย 4–6 คู่ แผ่นใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ หรือรูปหอกแกมรูปรี กว้าง 2.5–6 ซม. ยาว 5–18 ซม. ปลายเรียวแหลม หรือค่อยๆ เรียวแหลมไปตั้งแต่กลางใบ โคนกลมเบี้ยว หรือกึ่งรูปหัวใจ ผิวใบมีขนกระจายทั่วไป หรือเฉพาะบนเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบย่อย 8–14 คู่ ก้านใบย่อยยาว 0.3–0.9 ซม. ดอก เล็ก สีขาว หรือชมพู ออกเป็นช่อแยกแขนง ผล ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8–1.4 ซม. มีขนนุ่มสีน้ำตาล มีปีกรูปขอบขนาน กว้าง 0.8 ซม. ยาว 8.5–11 ซม. ปลายมน หรือค่อนข้างแหลม ชันรูจีมีการกระจายพันธุ์ในป่าดิบและบนเขาหินปูนทางภาคใต้ ที่ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 50–200 ม.
-
ชันรูจีเป็นไม้ต้น สูง 5–25 ม. กิ่งอ่อน ใบอ่อนและช่อดอก มีขนสีสนิมเหล็กปกคลุม เมื่อแก่เกลี้ยง ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ก้านใบยาว 7–9 ซม. มีใบย่อย 4–6 คู่ แผ่นใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ หรือรูปหอกแกมรูปรี กว้าง 2.5–6 ซม. ยาว 5–18 ซม. ปลายเรียวแหลม หรือค่อยๆ เรียวแหลมไปตั้งแต่กลางใบ โคนกลมเบี้ยว หรือกึ่งรูปหัวใจ ผิวใบมีขนกระจายทั่วไป หรือเฉพาะบนเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบย่อย 8–14 คู่ ก้านใบย่อยยาว 0.3–0.9 ซม. ดอก เล็ก สีขาว หรือชมพู ออกเป็นช่อแยกแขนง ผล ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8–1.4 ซม. มีขนนุ่มสีน้ำตาล มีปีกรูปขอบขนาน กว้าง 0.8 ซม. ยาว 8.5–11 ซม. ปลายมน หรือค่อนข้างแหลม ชันรูจีมีการกระจายพันธุ์ในป่าดิบและบนเขาหินปูนทางภาคใต้ ที่ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 50–200 ม.
-
ชันรูจีเป็นไม้ต้น สูง 5–25 ม. กิ่งอ่อน ใบอ่อนและช่อดอก มีขนสีสนิมเหล็กปกคลุม เมื่อแก่เกลี้ยง ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ก้านใบยาว 7–9 ซม. มีใบย่อย 4–6 คู่ แผ่นใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ หรือรูปหอกแกมรูปรี กว้าง 2.5–6 ซม. ยาว 5–18 ซม. ปลายเรียวแหลม หรือค่อยๆ เรียวแหลมไปตั้งแต่กลางใบ โคนกลมเบี้ยว หรือกึ่งรูปหัวใจ ผิวใบมีขนกระจายทั่วไป หรือเฉพาะบนเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบย่อย 8–14 คู่ ก้านใบย่อยยาว 0.3–0.9 ซม. ดอก เล็ก สีขาว หรือชมพู ออกเป็นช่อแยกแขนง ผล ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8–1.4 ซม. มีขนนุ่มสีน้ำตาล มีปีกรูปขอบขนาน กว้าง 0.8 ซม. ยาว 8.5–11 ซม. ปลายมน หรือค่อนข้างแหลม ชันรูจีมีการกระจายพันธุ์ในป่าดิบและบนเขาหินปูนทางภาคใต้ ที่ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 50–200 ม.
-
ชันรูจีเป็นไม้ต้น สูง 5–25 ม. กิ่งอ่อน ใบอ่อนและช่อดอก มีขนสีสนิมเหล็กปกคลุม เมื่อแก่เกลี้ยง ใบ ประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ก้านใบยาว 7–9 ซม. มีใบย่อย 4–6 คู่ แผ่นใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ หรือรูปหอกแกมรูปรี กว้าง 2.5–6 ซม. ยาว 5–18 ซม. ปลายเรียวแหลม หรือค่อยๆ เรียวแหลมไปตั้งแต่กลางใบ โคนกลมเบี้ยว หรือกึ่งรูปหัวใจ ผิวใบมีขนกระจายทั่วไป หรือเฉพาะบนเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบย่อย 8–14 คู่ ก้านใบย่อยยาว 0.3–0.9 ซม. ดอก เล็ก สีขาว หรือชมพู ออกเป็นช่อแยกแขนง ผล ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8–1.4 ซม. มีขนนุ่มสีน้ำตาล มีปีกรูปขอบขนาน กว้าง 0.8 ซม. ยาว 8.5–11 ซม. ปลายมน หรือค่อนข้างแหลม ชันรูจีมีการกระจายพันธุ์ในป่าดิบและบนเขาหินปูนทางภาคใต้ ที่ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 50–200 ม.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
คันแหลน
Psydrax nitida
บุหรง
Dasymaschalon blumei
Leucophanes glaucescens
Rhododendron lyi
Hoya obscura
Lindernia cambodgiana
Previous
Next