Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Polyalthia evecta
Polyalthia evecta
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Polyalthia evecta
(Pierre) Finet & Gagnep.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Unona evecta Pierre
- Unona evecta Pierre ex Laness.
ชื่อไทย::
-
นมน้อย
-
ต้นบาทปะเติล น้ำเต้าแล้ง (นครราชสีมา) น้ำน้อย (เลย) ต้องแล่ง (มหาสารคาม)
ชื่อท้องถิ่น::
-
Kham Hom
-
นมน้อย (เพชรบูรณ์) น้ำเต้าแล้ง (นครราชสีมา) น้ำน้อย (เลย) ต้องแล่ง (มหาสารคาม ยโสธร)
อาณาจักร::
Plantae
วงศ์::
Annonaceae
วันที่อัพเดท :
1 ธ.ค. 2564 03:16 น.
วันที่สร้าง:
1 ธ.ค. 2564 03:16 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก ออกดอกตามซอกใบ กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ผลย่อยรูปทรงกลม ผลลูกมีสีน้ำตาลแดง
-
เปลือกต้น - มีช่องแลกเปลี่ยนอากาศจำนวนมาก
ใบ - ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปวงรี กว้าง 2-4 เซนติเมตร ยาว 6-12
เซนติเมตร ฐานใบรูปลิ่ม ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบเรียบ ใบด้านบนสีเขียวเข้ม เกลี้ยง ด้านหลังมีขนสั้นประปราย เส้นใบไม่เด่นชัด เส้นกลางใบเป็นร่อง
ดอก - ดอกเดี่ยว ออกที่ซอกใบ บริเวณกิ่งอ่อน ตรงรอยร่วงของใบ ระหว่างข้อหรือใต้ข้อ กลีบดอกสีเหลือง เนื้อหนา มี 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ แบ่งเป็นกลีบดอกชั้นนอก คล้ายกลีบเลี้ยง สีเขียวอมเหลือง รูปสามเหลี่ยม แยกกัน กลีบดอกชั้นในหนาอวบ มีขนาดใหญ่กว่ากลีบดอกชั้นนอกสีเหลืองนวล ทอรัส รูปนูน เกสรเพศผู้ รูปลิ่ม มีจำนวนมาก อัดกันแน่น หันออกด้านนอก บนฐานล้อมรอบรังไข่จำนวนมาก ซึ่งอยู่กลางฐาน เกสรเพศเมีย มีรังไข่เหนือวงกลีบ กลีบเลี้ยง บางคล้ายกระดาษ รูปสามเหลี่ยม ด้านนอกของกลีบมีขนสั้นบางสีทอง ด้านในเกลี้ยง
ผล - เป็นผลกลุ่ม มีหลายผลย่อยรวมเป็นช่อ ผลย่อยรูปทรงกลม ขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร ผลแก่สีน้ำตาลปนแดง เมื่อสุกสีแดง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
สูง 60-120 เซนติเมตร ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนาน (oblong) กว้าง 2.6-3.4 เซนติเมตร ยาว 9.8-11.6 เซนติเมตร
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 0.5-1 เมตร เปลือกลำต้นเรียบ สีน้ำตาลดำ กิ่งก้านเล็ก ออกดอกช่วงเดือนมิถุนายน ถึงสิงหาคม
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ยโสธร
-
พะเยา
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบในพื้นที่ขอบชายป่าหรือป่าโปร่ง ดินร่วนปนทราย เช่น อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
สุรินทร์
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
มะไฟนกคุ่ม
Ammania baccifera
Eriocaulon echinulatum
Pleione praecox
โคเคน
Erythroxylum coca
Callicarpa angusta
Gymnema inodorum
Previous
Next