Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Brachiaria mutica
Brachiaria mutica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Brachiaria mutica
Stapf
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Para Grass
ชื่อไทย:
-
หญ้าขน
-
หญ้าขน (กรุงเทพฯ) buffalo grass, mountain grass,para grass
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าขน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Brachiaria
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
29 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
29 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:29 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Perennial rambling herb.
-
พืชล้มลุกกลุ่มหญ้า อายุหลายปี ลำต้นทอดเลื้อยชูยอดสูง ๐.๕-๑ เมตร ตามลำต้น และใบอ่อนนุ่ม มีขนสีขาวยาวและหนานุ่ม ลำต้นกว้าง ๐.๗-๑ เซนติเมตร ใบเรียวยาว ๑๕-๓๐ เซนติเมตร ถูกนำเข้ามาเป็นพืชอาหารสัตว์ แล้วแพร่กระจายด้วยเมล็ดและไหล ไปทั่วประเทศไทยมานานแล้ว ขึ้นได้ดีตามพื้นที่ชุ่มน้ำ นาข้าว คูน้ำข้างทาง หรือริมคลอง ที่ระดับความสูงไม่เกิน ๕๐๐ เมตร
-
ลำต้น มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.1-4.2 มิลลิเมตร ใบเรียวกว้าง 1.4-1.6 เซนติเมตร ยาว 20.5-27.2 เซนติเมตร กาบใบหุ้มลำต้นยาว 8.3-11.5 เซนติเมตร ลิ้นใบ (ligule) ลักษณะเป็นแผงขนสั้นๆ (fringe of hairs) ยาว 1.0-1.5 มิลลิเมตร ช่อดอกแบบแยกแขนง (panicle) ยาว 39.5-45.4 เซนติเมตร ประกอบด้วย 10-20 ช่อดอกย่อย
ระบบนิเวศ :
-
Probably an escape from cultivation on marshy ground, river banks, edges of lakes and ponds.
การกระจายพันธุ์ :
-
Widely cultivated in tropical Africa, Asia, America
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Alloverthecountry
-
เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,ราชบุรี
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
นครศรีธรรมราช, สตูล, กาญจนบุรี, เพชรบูรณ์, ลำปาง
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย/กลุ่มป่าแก่งกระจาน (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี)
-
พบที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 35-122 เมตร บริเวณ อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล อำเภอไทรโยคน้อย จังหวัดกาญจนบุรี อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ถิ่นกำเนิด :
-
เขตร้อนในทวีปอเมริกา
-
ไทย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นหญ้าอายุหลายปี เลื้อยคลุมดิน สูง 91-202 เซนติเมตร แตกรากตามข้อที่แตะดิน หน้าใบมีขนปกคลุมหนาแน่น กาบใบหุ้มลำต้นมีขอบสีม่วงมีขนจำนวนมาก บริเวณข้อจะมีขนเป็นกระจุกสีขาว ลิ้นใบ (ligule) ลักษณะเป็นแผงขนสั้นๆ (fringe of hairs) ต้นอ่อนมักเป็นสีม่วงแกมน้ำตาล ต้นแก่เป็นสีเขียว ช่อดอกแบบแยกแขนง (panicle) ประกอบด้วย 10-20 ช่อดอกย่อย หญ้าขนไทยจะติดดอกดีแต่ขึ้นในที่ดอนไม่ดีเท่าหญ้าขนต่างประเทศ
สถานที่ชม :
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นราธิวาส
การขยายพันธุ์ :
-
ใช้ท่อนพันธุ์
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
พืชอาหารสัตว์
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Strelitzia reginae
Wallichia marianneae
Mallotus leucodermis
Cycas nongnoochiae
โกฐเขมา
Atractylodes japonica
เถาพันดง
Pothos macrocephallus
Previous
Next