Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Panicum cambogiense
Panicum cambogiense
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Panicum cambogiense
Balansa
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
หญ้ากุศลา (กรุงเทพฯ) หญ้าปล้องขน
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าดอกขาว (ภาคใต้)
อาณาจักร::
Plantae
วงศ์::
Poaceae
วันที่อัพเดท :
1 ธ.ค. 2564 03:17 น.
วันที่สร้าง:
1 ธ.ค. 2564 03:17 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชอายุปีเดียว จะงอกและเจริญเติบโตในช่วงต้นฤดูฝน ใบเรียวไปที่ปลายใบ หน้าใบมีขนประปราย หลังใบมีปุยขนสีขาวปกคลุมหนาแน่น กาบใบมีขนแข็งยาวประมาณ 1.0 มิลลิเมตร ลิ้นใบ (ligule) มีลักษณะเป็นแผงขน (fringe of hairs) ช่อดอกแบบ panicle ออกดอกเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนมิถุนายน เมล็ดแก่ต้นจะแห้งตาย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
สูง 20-50 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 3.5-4.2 มิลลิเมตร ใบกว้าง 0.9-1.2 เซนติเมตร ยาว 13.9-18.8 เซนติเมตร กาบใบยาว 6.6-9.3 เซนติเมตร ลิ้นใบ (ligule) ยาว 1-2 มิลลิเมตร ช่อดอกแบบ panicle ยาว 39.2-44.0 เซนติเมตร
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรธรรมราช, สงขลา,นราธิวาส
-
ราชบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 35-67 เมตร บริเวณอำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรธรรมราช อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัดนราธิวาส
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Juncus effusus
Gastrodia exilis
Cyclosorus menisciicarpus
Pycreus lanceolatus
Calamus acanthophyllus
Bulbophyllum bisetum
Previous
Next