Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Botia modesta
Botia modesta
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Botia modesta
Bleeker, 1864
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Yellow-tail botia, Orange-fin loach
-
Yellow-tail, Orange-fin loach, Blue Botia
ชื่อไทย:
-
หมูหางแดง
-
ปลาหมูขาว
ชื่อท้องถิ่น::
-
ตะแร๊ยโกนจรูกกะตุยกะฮอม
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Cypriniformes
วงศ์::
Cobitidae
สกุล:
Yasuhikotakia
ปีที่ตีพิมพ์:
1997
วันที่อัพเดท :
26 มี.ค. 2564 09:51 น.
วันที่สร้าง:
26 มี.ค. 2564 09:51 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กาญจนบุรี, ขอนแก่น, หนองคาย, ราชบุรี, พระนครศรีอยุธยา, อุตรดิตถ์, นนทบุรี, เชียงใหม่, พิษณุโลก, อุดรธานี, นครสวรรค์, อุบลราชธานี, ปราจีนบุรี
-
ตาก
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิง
-
สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นปลาหมูที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุลปลาหมูที่พบในประเทศไทย ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยสำรวจพบมีความยาวถึง 23.5 ซม. ขนาดความยาวเฉลี่ยประมาณ 12 ซม. ตู้ที่ใช้เลี้ยงควรมีขนาดใหญ่ให้พอเหมาะกับอัตราการเจริญเติบโตของปลา ลักษณะมีลำตัวแบนข้างเล็กน้อยและค่อนข้างป้อมกว่าปลาหมูชนิดอื่น ๆ สีลำตัวเป็นสีเทาหรือเทาอมเขียว บริเวณด้านหลังสีเข้มกว่าด้านข้างลำตัว ท้องสีเหลืองอ่อนหรือขาว บริเวณโคนหางมีจุดสีดำ สำหรับปลาวัยอ่อนที่ยังไม่โตเต็มที่ จนมีแถบสีดำเล็ก ๆ พาดขวางลำตัว 4-5 แถบ และเมื่อปลามีอายุมากขึ้นแถบเหล่านี้จะหายไป จะงอยปากค่อนข้างยาว ปลายจะงอยปากมีหนวด 2 คู่ และมุมปากมีหนวดอีก 1 คู่ ปากอยู่ปลายสุดและอยู่ในระดับต่ำ บริเวณหน้าตามีหนามแหลมปลายแยกเป็น 2 แฉก ขนาดใหญ่และแข็งแรง ครีบทุกครีบไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบหลังครีบก้น และครีบหางมีสีเหลืองจนถึงสีส้มหรือแดง โดยเฉพาะครีบหางจะมีสีสดกว่าครีบอื่น ๆ ครีบอกและครีบท้องสีเหลืองจาง ๆ
ถิ่นอาศัย :
-
แม่น้ำและอ่างเก็บน้ำในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 4 Checklist of FISHES IN THAILAND, 2540
กรมประมง
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
กุ้งก้ามขน
Macrobrachium dienbienphuense
ผีเสื้อ
Hgathodes ostentalis
Chlorophthalmus corniger
ขยุย
Pseudobagarius macronemus
Ulodemis trigrapha
Cheritra freja
Previous
Next