Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Magnolia praecalva
Magnolia praecalva
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Magnolia praecalva
(Dandy) Figlar & Noot.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Pachylarnax praecalva Dandy
ชื่อไทย::
-
จำลา
อาณาจักร::
Plantae
วงศ์::
Magnoliaceae
วันที่อัพเดท :
1 ธ.ค. 2564 03:17 น.
วันที่สร้าง:
1 ธ.ค. 2564 03:17 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 50 ม. มีพูพอน หูใบขนาดใหญ่ติดที่โคนก้านใบ ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-20 ซม. ปลายมน เว้าตื้น ๆ แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 1-3 ซม. ก้านช่อดอกยาว 0.5-2 ซม. มี 1-3 ข้อ ก้านดอกยาว 1-3 มม. กลีบรวมส่วนมากมี 9 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก ยาว 1.7-2 ซม. แกนอับเรณูรูปสามเหลี่ยม ยาว 2-3 มม. คาร์เพล 2-4 อัน ไม่มีก้าน อยู่ภายในวงเกสรเพศผู้ ผลย่อยเชื่อมติดกัน รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5 ซม. เปลือกหนา แตกเป็น 2-4 ส่วน เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีแดง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ จำปี, สกุล)
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 50 ม. มีพูพอน หูใบขนาดใหญ่ติดที่โคนก้านใบ ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-20 ซม. ปลายมน เว้าตื้น ๆ แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 1-3 ซม. ก้านช่อดอกยาว 0.5-2 ซม. มี 1-3 ข้อ ก้านดอกยาว 1-3 มม. กลีบรวมส่วนมากมี 9 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก ยาว 1.7-2 ซม. แกนอับเรณูรูปสามเหลี่ยม ยาว 2-3 มม. คาร์เพล 2-4 อัน ไม่มีก้าน อยู่ภายในวงเกสรเพศผู้ ผลย่อยเชื่อมติดกัน รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5 ซม. เปลือกหนา แตกเป็น 2-4 ส่วน เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีแดง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ จำปี, สกุล)
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 50 ม. มีพูพอน หูใบขนาดใหญ่ติดที่โคนก้านใบ ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-20 ซม. ปลายมน เว้าตื้น ๆ แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 1-3 ซม. ก้านช่อดอกยาว 0.5-2 ซม. มี 1-3 ข้อ ก้านดอกยาว 1-3 มม. กลีบรวมส่วนมากมี 9 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก ยาว 1.7-2 ซม. แกนอับเรณูรูปสามเหลี่ยม ยาว 2-3 มม. คาร์เพล 2-4 อัน ไม่มีก้าน อยู่ภายในวงเกสรเพศผู้ ผลย่อยเชื่อมติดกัน รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5 ซม. เปลือกหนา แตกเป็น 2-4 ส่วน เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีแดง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ จำปี, สกุล)
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 50 ม. มีพูพอน หูใบขนาดใหญ่ติดที่โคนก้านใบ ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-20 ซม. ปลายมน เว้าตื้น ๆ แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 1-3 ซม. ก้านช่อดอกยาว 0.5-2 ซม. มี 1-3 ข้อ ก้านดอกยาว 1-3 มม. กลีบรวมส่วนมากมี 9 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก ยาว 1.7-2 ซม. แกนอับเรณูรูปสามเหลี่ยม ยาว 2-3 มม. คาร์เพล 2-4 อัน ไม่มีก้าน อยู่ภายในวงเกสรเพศผู้ ผลย่อยเชื่อมติดกัน รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5 ซม. เปลือกหนา แตกเป็น 2-4 ส่วน เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีแดง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ จำปี, สกุล)
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 50 ม. มีพูพอน หูใบขนาดใหญ่ติดที่โคนก้านใบ ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-20 ซม. ปลายมน เว้าตื้น ๆ แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 1-3 ซม. ก้านช่อดอกยาว 0.5-2 ซม. มี 1-3 ข้อ ก้านดอกยาว 1-3 มม. กลีบรวมส่วนมากมี 9 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก ยาว 1.7-2 ซม. แกนอับเรณูรูปสามเหลี่ยม ยาว 2-3 มม. คาร์เพล 2-4 อัน ไม่มีก้าน อยู่ภายในวงเกสรเพศผู้ ผลย่อยเชื่อมติดกัน รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5 ซม. เปลือกหนา แตกเป็น 2-4 ส่วน เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีแดง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ จำปี, สกุล)
การขยายพันธุ์ :
-
เป็นพรรณไม้ที่มีผลแก่ในช่วงฤดูฝน ซึ่งมีความชื้นสูงมาก เมื่อผลแก่หล่นลงมากระแทกกับพื้นดินก็จะแตก เมล็ดได้รับบาดแผลหรือเสียหายแล้วมีเชื้อราเข้าทำลายจนสูญเสียความงอก ทำให้ไม่สามารถงอกได้ จึงไม่พบต้นกล้าของจำลา ในปัจจุบันยังไม่สามารถหาวิธีการที่จะช่วยให้ขยายพันธุ์ได้
-
เป็นพรรณไม้ที่มีผลแก่ในช่วงฤดูฝน ซึ่งมีความชื้นสูงมาก เมื่อผลแก่หล่นลงมากระแทกกับพื้นดินก็จะแตก เมล็ดได้รับบาดแผลหรือเสียหายแล้วมีเชื้อราเข้าทำลายจนสูญเสียความงอก ทำให้ไม่สามารถงอกได้ จึงไม่พบต้นกล้าของจำลา ในปัจจุบันยังไม่สามารถหาวิธีการที่จะช่วยให้ขยายพันธุ์ได้
-
เป็นพรรณไม้ที่มีผลแก่ในช่วงฤดูฝน ซึ่งมีความชื้นสูงมาก เมื่อผลแก่หล่นลงมากระแทกกับพื้นดินก็จะแตก เมล็ดได้รับบาดแผลหรือเสียหายแล้วมีเชื้อราเข้าทำลายจนสูญเสียความงอก ทำให้ไม่สามารถงอกได้ จึงไม่พบต้นกล้าของจำลา ในปัจจุบันยังไม่สามารถหาวิธีการที่จะช่วยให้ขยายพันธุ์ได้
-
เป็นพรรณไม้ที่มีผลแก่ในช่วงฤดูฝน ซึ่งมีความชื้นสูงมาก เมื่อผลแก่หล่นลงมากระแทกกับพื้นดินก็จะแตก เมล็ดได้รับบาดแผลหรือเสียหายแล้วมีเชื้อราเข้าทำลายจนสูญเสียความงอก ทำให้ไม่สามารถงอกได้ จึงไม่พบต้นกล้าของจำลา ในปัจจุบันยังไม่สามารถหาวิธีการที่จะช่วยให้ขยายพันธุ์ได้
-
เป็นพรรณไม้ที่มีผลแก่ในช่วงฤดูฝน ซึ่งมีความชื้นสูงมาก เมื่อผลแก่หล่นลงมากระแทกกับพื้นดินก็จะแตก เมล็ดได้รับบาดแผลหรือเสียหายแล้วมีเชื้อราเข้าทำลายจนสูญเสียความงอก ทำให้ไม่สามารถงอกได้ จึงไม่พบต้นกล้าของจำลา ในปัจจุบันยังไม่สามารถหาวิธีการที่จะช่วยให้ขยายพันธุ์ได้
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA994423
994423
2
PRJNA832398
832398
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Scutellaria indica
Smilax corbularia
Wahlenbergia hookeri
Taxithelium binsteadii
Fimbristylis dura
Balanophora laxiflora
Previous
Next