Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Ficus botryocarpa
Ficus botryocarpa
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Ficus botryocarpa
Miq.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Ficus botryocarpa var. albidoramea (Elmer) Corner
- Ficus mindorensis Merr.
ชื่อไทย::
-
มะเดื่อฉิ่ง
-
ฉิ่ง , เดื่อฉิ่ง
ชื่อท้องถิ่น::
-
ลูกฉิ่ง ชิ้งขาว จิ้งขาว ซิ้งขาว มะเดื่อซิ้ง เดื่อฉิ่ง
อาณาจักร::
Plantae
วงศ์::
Moraceae
วันที่อัพเดท :
1 ธ.ค. 2564 03:17 น.
วันที่สร้าง:
1 ธ.ค. 2564 03:17 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 5-7 ม. ขนาดทรงพุ่ม 3-5 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มกลม หรือรูปไข่ เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา มีรอยด่าง เป็นวงสีขาวอมเทา แตกเป็นร่องตื้นๆ ตามแนวยาวมีปุ่มปมเล็กๆ ซึ่งเป็นจุดกำเนิดตาดอก
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 5-15 ซม. ยาว 10-20 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือกลม ขอบใบเรียบ เป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบค่อนข้างหนาและเหนียว ย่นเป็นลอน ใบสีเขียวเข้มเป็นมัน ก้านใบยาว 1.5-2.5 ซม.ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
ดอก : สีเขียวอมเหลือง ออกเป็นช่อรูปร่างคล้ายผล คือ มีแกนกลาง ช่อดอกเจริญแผ่ขยายใหญ่เป็นกระเปาะมีรูเปิดที่ปลาย โอบดอกไว้ ดอกมีขนาดเล็กแยกเพศในกระเปาะ ดอกทั้งสองเพศ มีกลีบรวม 3 กลีบ รูปไข่ ดอกเพศผู้มีจำนวนน้อย เส้นผ่านศูนย์กลางช่อดอก 0.3-0.5 ซม. ก้านช่อดอกยาว 1-1.5 ซม.
ผล : ผลสดแบบมะเดื่อ ทรงกลมแป้นหรือรูปหัวใจกลับ เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ก้านผลยาว 1-2 ซม. ออกเป็นกระจุก 5-25 ผล ที่กิ่ง ขนาดใหญ่และลำต้น สีเขียวสดมีจุดสีครีมทั่วผล เมื่อสุกสีเหลือง ด้านบน มีรอยบุ๋ม เมล็ดทรงกลม สีน้ำตาล ขนาดเล็กจำนวนมาก ติดดอกออกผลตลอดปี
-
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 5-7 ม. ขนาดทรงพุ่ม 3-5 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มกลม หรือรูปไข่ เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา มีรอยด่าง เป็นวงสีขาวอมเทา แตกเป็นร่องตื้นๆ ตามแนวยาวมีปุ่มปมเล็กๆ ซึ่งเป็นจุดกำเนิดตาดอก
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 5-15 ซม. ยาว 10-20 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือกลม ขอบใบเรียบ เป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบค่อนข้างหนาและเหนียว ย่นเป็นลอน ใบสีเขียวเข้มเป็นมัน ก้านใบยาว 1.5-2.5 ซม.ใบอ่อนสีเขียวอมน้ำตาล
ดอก : สีเขียวอมเหลือง ออกเป็นช่อรูปร่างคล้ายผล คือ มีแกนกลาง ช่อดอกเจริญแผ่ขยายใหญ่เป็นกระเปาะมีรูเปิดที่ปลาย โอบดอกไว้ ดอกมีขนาดเล็กแยกเพศในกระเปาะ ดอกทั้งสองเพศ มีกลีบรวม 3 กลีบ รูปไข่ ดอกเพศผู้มีจำนวนน้อย เส้นผ่านศูนย์กลางช่อดอก 0.3-0.5 ซม. ก้านช่อดอกยาว 1-1.5 ซม.
ผล : ผลสดแบบมะเดื่อ ทรงกลมแป้นหรือรูปหัวใจกลับ เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ก้านผลยาว 1-2 ซม. ออกเป็นกระจุก 5-25 ผล ที่กิ่ง ขนาดใหญ่และลำต้น สีเขียวสดมีจุดสีครีมทั่วผล เมื่อสุกสีเหลือง ด้านบน มีรอยบุ๋ม เมล็ดทรงกลม สีน้ำตาล ขนาดเล็กจำนวนมาก ติดดอกออกผลตลอดปี
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด และตอนกิ่ง
-
เพาะเมล็ด และตอนกิ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ชุมพร
-
นครศรีธรรมราช
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1022141
1022141
2
PRJNA956524
956524
3
PRJNA474284
474284
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Philonotis revoluta
Eupatorium fortunei
Clastobryum indicum
Amaranthus Blitum
Cyperus imbricatus
Zingiber chrysostachys
Previous
Next