Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Desmodium velutinum
Desmodium velutinum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Desmodium velutinum
(Willd.) DC.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
หญ้าสองปล้อง(ภาคกลาง, ภาคเหนือ)กระตึกแป หย้าตืดแมว
-
Indian acalypha Tree-seeded mercury
ชื่อไทย:
-
หญ้าสองปล้อง
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าสองปล้อง (ภาคกลาง, ภาคเหนือ) กระตึกแป หญ้าตืดหญ้า หญ้าตืดหมา (ลำปาง) ชาใบ เหมือดวัว หญ้าตืดแมวขาว (เชียงใหม่) เหนียวใหญ่(ประจวบคีรีขันธ์) หางกระหรอด (จันทบุรี)
อาณาจักร::
Plantae
วงศ์::
Fabaceae
วันที่อัพเดท :
1 ธ.ค. 2564 03:16 น.
วันที่สร้าง:
1 ธ.ค. 2564 03:16 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม ลำต้นกึ่งตั้งกึ่งแผ่คลุมดิน ยอดของทรงพุ่มจะแผ่ออกด้านข้าง ลำต้นมีสีเขียวเข้ม โคนต้นหรือต้นแก่มีสีม่วงดำ ถึงน้ำตาลปนม่วงดำ ลำต้นมีขนสีน้ำตาลถึงขาวนวลปกคลุมหนาแน่น ใบประกอบชนิดมีใบย่อยใบเดียว (simple) รูปร่างใบรูปไข่ (ovate) หน้าใบและหลังใบมีขนปกคลุมหนาแน่นขอบใบเป็นขนครุยสีน้ำตาล (ciliate) ออกดอกตามซอกใบ กลีบดอกสีชมพูอมม่วง ผลเป็นฝักยาว มีขนสีน้ำตาลปกคลุมหนาแน่นมาก ออกดอกติดเมล็ดช่วงเดือนตุลาคมถึงมกราคม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ยอดของทรงพุ่ม สูง 60-105 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 7.6-18.4 มิลลิเมตร ขนาดใบกว้าง 2.7-5.0 เซนติเมตร ยาว 4.5-8 เซนติเมตร ก้านใบยาว 0.5-1.2 เซนติเมตร ช่อดอกยาว 5.5-12.6 เซนติเมตร ผลเป็นฝักยาว 0.4-1.6 เซนติเมตร ในแต่ละช่อมีฝัก 12-36 ฝัก ฝักสามารถหักออกเป็นข้อๆในแต่ละฝักจะมีข้อ1-7 ข้อ
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พิษณุโลก, สุรินทร์, บุรีรัมย์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบขึ้นในพื้นที่ป่าโปร่ง เช่น ป่าพลวงของอำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-P-2002-1161
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2002-1162
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2002-1163
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2002-1161
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2002-1162
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2002-1163
NSM
Ratchaburi
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ทังมัน
Adinandra sarosanthera
โกฐเขมา
Atractylodes lyrata
Pterocymbium macranthum
Ahnfeltiopsis
Pyramidanthe prismatica
Albizia myriophylla
Previous
Next