รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น : ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-25 ม. มีพอนที่โคนต้น กิ่งอ่อนแบนเป็นเหลี่ยม มีหูใบรูปกรวยแหลมที่ปลายกิ่ง
ใบเดี่ยว : เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายแหลม โคนมนหรือแหลม ปลายก้านใบที่ต่อกับแผ่นใบป่องและโค้งเล็กน้อย
ช่อดอก : แบบหางกระรอก ออกบนช่อแยกแขนงที่แตกแขนงด้านข้างออกไป ดอกเล็กมาก สีเหลืองอมเขียว กลิ่นหอมอ่อน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน
ผล : รูปกรวยแหลม ส่วนปลายเป็นจะงอยโค้งเล็กน้อย ผลแก่สีเหลืองและแตกออกตามรอยประสานด้านข้าง
เมล็ด : มี 1 เมล็ด แข็ง รูปรี มีเนื้อสีเหลืองหุ้มตลอดหรือเพียงบางส่วน
-
ไม้ต้น : ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-25 ม. มีพอนที่โคนต้น กิ่งอ่อนแบนเป็นเหลี่ยม มีหูใบรูปกรวยแหลมที่ปลายกิ่ง
ใบเดี่ยว : เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายแหลม โคนมนหรือแหลม ปลายก้านใบที่ต่อกับแผ่นใบป่องและโค้งเล็กน้อย
ช่อดอก : แบบหางกระรอก ออกบนช่อแยกแขนงที่แตกแขนงด้านข้างออกไป ดอกเล็กมาก สีเหลืองอมเขียว กลิ่นหอมอ่อน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน
ผล : รูปกรวยแหลม ส่วนปลายเป็นจะงอยโค้งเล็กน้อย ผลแก่สีเหลืองและแตกออกตามรอยประสานด้านข้าง
เมล็ด : มี 1 เมล็ด แข็ง รูปรี มีเนื้อสีเหลืองหุ้มตลอดหรือเพียงบางส่วน
-
ไม้ต้น : ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-25 ม. มีพอนที่โคนต้น กิ่งอ่อนแบนเป็นเหลี่ยม มีหูใบรูปกรวยแหลมที่ปลายกิ่ง
ใบเดี่ยว : เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายแหลม โคนมนหรือแหลม ปลายก้านใบที่ต่อกับแผ่นใบป่องและโค้งเล็กน้อย
ช่อดอก : แบบหางกระรอก ออกบนช่อแยกแขนงที่แตกแขนงด้านข้างออกไป ดอกเล็กมาก สีเหลืองอมเขียว กลิ่นหอมอ่อน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน
ผล : รูปกรวยแหลม ส่วนปลายเป็นจะงอยโค้งเล็กน้อย ผลแก่สีเหลืองและแตกออกตามรอยประสานด้านข้าง
เมล็ด : มี 1 เมล็ด แข็ง รูปรี มีเนื้อสีเหลืองหุ้มตลอดหรือเพียงบางส่วน
-
ไม้ต้น : ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-25 ม. มีพอนที่โคนต้น กิ่งอ่อนแบนเป็นเหลี่ยม มีหูใบรูปกรวยแหลมที่ปลายกิ่ง
ใบเดี่ยว : เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายแหลม โคนมนหรือแหลม ปลายก้านใบที่ต่อกับแผ่นใบป่องและโค้งเล็กน้อย
ช่อดอก : แบบหางกระรอก ออกบนช่อแยกแขนงที่แตกแขนงด้านข้างออกไป ดอกเล็กมาก สีเหลืองอมเขียว กลิ่นหอมอ่อน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน
ผล : รูปกรวยแหลม ส่วนปลายเป็นจะงอยโค้งเล็กน้อย ผลแก่สีเหลืองและแตกออกตามรอยประสานด้านข้าง
เมล็ด : มี 1 เมล็ด แข็ง รูปรี มีเนื้อสีเหลืองหุ้มตลอดหรือเพียงบางส่วน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สุราษฎร์ธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
ระนอง
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
เชียงราย
-
จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
จันทบุรี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระแก้ว
-
มุกดาหาร
-
สุโขทัย
-
สงขลา
-
นครศรีธรรมราช
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
ชุมพร, ระนอง
-
สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
ตาก
-
พะเยา
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ