Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bauhinia viridescens
Bauhinia viridescens
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bauhinia viridescens
Desv.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Pauletia viridescens (Desv.) A.Schmitz
ชื่อสามัญ::
-
Siao fom
-
-
ชื่อไทย::
-
เสี้ยวฟ่อม
ชื่อท้องถิ่น::
-
ส้มเสี้ยวน้อย ส้มเสี้ยวใบบาง
-
เสี้ยวฟ่อม
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Bauhinia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มสูง 2-4 เมตร กิ่งอ่อนเกลี้ยง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่ถึงเกือบกลม ขนาด 6-15 ซม. โคนตัดหรือเว้า ปลายแยกเป็น 2 แฉก ลึก 1/3-2/3 ของใบ ปลายใบมน ก้านใบยาว 2-5 ซม. ดอกสีขาวอมเขียวถึงเหลือง ออกเป็นช่อโปร่ง ขนาดช่อรวม 5-15 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปช้อนถึงรูปใบหอก ยาว 7-12 ซม. ดอกเพศผู้มีเกสร 10 อัน กลีบดอก 5 อัน ดอกเพศเมียมีเกสรผู้ลดรูป 10 อัน ขนาดไม่เท่ากัน รังไข่ยาว 6-8 มม. ผลเป็นฝักแบน ยาว 5-7 ซม. กว้าง 0.7-1 ซม. ผิวเรียบ แห้งแล้วแตกตามยาว เมล็ดมี 6-10 เมล็ด รูปแบนยาว ขนาด2-3 มม.
-
ไม้พุ่ม
-
ไม้พุ่มสูง 2-4 เมตร กิ่งอ่อนเกลี้ยง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่ถึงเกือบกลม ขนาด 6-15 ซม. โคนตัดหรือเว้า ปลายแยกเป็น 2 แฉก ลึก 1/3-2/3 ของใบ ปลายใบมน ก้านใบยาว 2-5 ซม. ดอกสีขาวอมเขียวถึงเหลือง ออกเป็นช่อโปร่ง ขนาดช่อรวม 5-15 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปช้อนถึงรูปใบหอก ยาว 7-12 ซม. ดอกเพศผู้มีเกสร 10 อัน กลีบดอก 5 อัน ดอกเพศเมียมีเกสรผู้ลดรูป 10 อัน ขนาดไม่เท่ากัน รังไข่ยาว 6-8 มม. ผลเป็นฝักแบน ยาว 5-7 ซม. กว้าง 0.7-1 ซม. ผิวเรียบ แห้งแล้วแตกตามยาว เมล็ดมี 6-10 เมล็ด รูปแบนยาว ขนาด2-3 มม.
-
ไม้พุ่มสูง 2-4 เมตร กิ่งอ่อนเกลี้ยง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่ถึงเกือบกลม ขนาด 6-15 ซม. โคนตัดหรือเว้า ปลายแยกเป็น 2 แฉก ลึก 1/3-2/3 ของใบ ปลายใบมน ก้านใบยาว 2-5 ซม. ดอกสีขาวอมเขียวถึงเหลือง ออกเป็นช่อโปร่ง ขนาดช่อรวม 5-15 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปช้อนถึงรูปใบหอก ยาว 7-12 ซม. ดอกเพศผู้มีเกสร 10 อัน กลีบดอก 5 อัน ดอกเพศเมียมีเกสรผู้ลดรูป 10 อัน ขนาดไม่เท่ากัน รังไข่ยาว 6-8 มม. ผลเป็นฝักแบน ยาว 5-7 ซม. กว้าง 0.7-1 ซม. ผิวเรียบ แห้งแล้วแตกตามยาว เมล็ดมี 6-10 เมล็ด รูปแบนยาว ขนาด2-3 มม.
-
ไม้พุ่มสูง 2-4 เมตร กิ่งอ่อนเกลี้ยง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่ถึงเกือบกลม ขนาด 6-15 ซม. โคนตัดหรือเว้า ปลายแยกเป็น 2 แฉก ลึก 1/3-2/3 ของใบ ปลายใบมน ก้านใบยาว 2-5 ซม. ดอกสีขาวอมเขียวถึงเหลือง ออกเป็นช่อโปร่ง ขนาดช่อรวม 5-15 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปช้อนถึงรูปใบหอก ยาว 7-12 ซม. ดอกเพศผู้มีเกสร 10 อัน กลีบดอก 5 อัน ดอกเพศเมียมีเกสรผู้ลดรูป 10 อัน ขนาดไม่เท่ากัน รังไข่ยาว 6-8 มม. ผลเป็นฝักแบน ยาว 5-7 ซม. กว้าง 0.7-1 ซม. ผิวเรียบ แห้งแล้วแตกตามยาว เมล็ดมี 6-10 เมล็ด รูปแบนยาว ขนาด2-3 มม.
-
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบปลายมีขนแข็ง ใบรูปไข่กว้าง ยาว 6-15 ซม. ปลายใบแฉกลึก ปลายแฉกมนหรือแหลม โคนเว้าตื้น ก้านใบยาว 2-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะเรียวยาว ยาว 5-15 ซม. ใบประดับรูปลิ่มแคบ ยาว 2-5 มม. ก้านดอกยาว 2-3 มม. ใบประดับย่อยขนาดเล็ก ตาดอกรูปรีหรือรูปกระสวย ยาว 0.6-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบพาย ดอกสีเขียวอ่อน กลีบรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ ยาว 0.7-1.2 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน สั้นกว่ากลีบดอก วงนอกยาวกว่าวงในเล็กน้อย เป็นหมันในดอกเพศเมีย รังไข่มีก้านสั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียสั้นมาก มีขนสั้นนุ่ม ยอดเกสรรูปโล่ ฝักรูปแถบ ยาว 5-7 ซม. มี 6-10 เมล็ด รูปรี แบน ยาวประมาณ 3 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
จากเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ถึงอินโดนีเซีย ขึ้นทั่วไปในป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 เมตร
-
จากเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ถึงอินโดนีเซีย ขึ้นทั่วไปในป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 เมตร
-
จากเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ถึงอินโดนีเซีย ขึ้นทั่วไปในป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 เมตร
-
จากเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ถึงอินโดนีเซีย ขึ้นทั่วไปในป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Schizachyrium sanguineum
Malleola macranthera
ไทร
Ficus subcordata
Codariocalyx motorius
ส่องฟ้าดง
Cluasena harmandiana
Colona diptera
Previous
Next