Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bauhinia strychnifolia
Bauhinia strychnifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bauhinia strychnifolia
Craib
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
เครือขยัน
-
ขยัน
ชื่อท้องถิ่น::
-
เถาขยัน, ขยัน, สยาน, ขยาน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Bauhinia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 5 ม. ใบ ใบเดี่ยวรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซ.ม. ยาว 6-12 ซ.ม. ปลายใบเว้าตื้นกึ่งเรียว แหลมถึงมีติ่งหนาม โคนใบกลมถึงรูปหัว ใจตื้น ผิวเกลี้ยง ทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-3.5 ซ.ม. หูใบรูปเคียวดอก ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง รูปทรงกระบอกแคบ ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีแดง ผล เป็นฝักรูปขอบขนาน ปลายแหลม เลือกแข็ง เมล็ดรูปขอบขนาน 8-9 เมล็ด
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 5 ม. ใบ ใบเดี่ยวรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซ.ม. ยาว 6-12 ซ.ม. ปลายใบเว้าตื้นกึ่งเรียว แหลมถึงมีติ่งหนาม โคนใบกลมถึงรูปหัว ใจตื้น ผิวเกลี้ยง ทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-3.5 ซ.ม. หูใบรูปเคียวดอก ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง รูปทรงกระบอกแคบ ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีแดง ผล เป็นฝักรูปขอบขนาน ปลายแหลม เลือกแข็ง เมล็ดรูปขอบขนาน 8-9 เมล็ด
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 5 ม. ใบ ใบเดี่ยวรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซ.ม. ยาว 6-12 ซ.ม. ปลายใบเว้าตื้นกึ่งเรียว แหลมถึงมีติ่งหนาม โคนใบกลมถึงรูปหัว ใจตื้น ผิวเกลี้ยง ทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-3.5 ซ.ม. หูใบรูปเคียวดอก ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง รูปทรงกระบอกแคบ ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีแดง ผล เป็นฝักรูปขอบขนาน ปลายแหลม เลือกแข็ง เมล็ดรูปขอบขนาน 8-9 เมล็ด
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 5 ม. ใบ ใบเดี่ยวรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซ.ม. ยาว 6-12 ซ.ม. ปลายใบเว้าตื้นกึ่งเรียว แหลมถึงมีติ่งหนาม โคนใบกลมถึงรูปหัว ใจตื้น ผิวเกลี้ยง ทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-3.5 ซ.ม. หูใบรูปเคียวดอก ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง รูปทรงกระบอกแคบ ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีแดง ผล เป็นฝักรูปขอบขนาน ปลายแหลม เลือกแข็ง เมล็ดรูปขอบขนาน 8-9 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบทางภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง กำแพงเพชร นครสวรรค์ และสุโขทัย พบตามที่ราบลุ่ม ป่าเต็งรัง ผลัดใบ และป่าหญ้า หากขึ้นในบริเวณที่ถูกเผาทุกปีจะขึ้นเป็นพุ่มราบกับดิน
-
N Thailand: Chiang Mai, Lampang, Tak, Sukhothai, Kamphaeng Phet
-
เป็นพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบทางภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง กำแพงเพชร นครสวรรค์ และสุโขทัย พบตามที่ราบลุ่ม ป่าเต็งรัง ผลัดใบ และป่าหญ้า หากขึ้นในบริเวณที่ถูกเผาทุกปีจะขึ้นเป็นพุ่มราบกับดิน
-
เป็นพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบทางภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง กำแพงเพชร นครสวรรค์ และสุโขทัย พบตามที่ราบลุ่ม ป่าเต็งรัง ผลัดใบ และป่าหญ้า หากขึ้นในบริเวณที่ถูกเผาทุกปีจะขึ้นเป็นพุ่มราบกับดิน
-
เป็นพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบทางภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง กำแพงเพชร นครสวรรค์ และสุโขทัย พบตามที่ราบลุ่ม ป่าเต็งรัง ผลัดใบ และป่าหญ้า หากขึ้นในบริเวณที่ถูกเผาทุกปีจะขึ้นเป็นพุ่มราบกับดิน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เถา, ไม้เลื้อย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
-
สุราษฎร์ธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous forest and open cultivated areas, to 500 m.
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ceratodictyon scoparium
Amischotolype barbarossa
สาหร่ายฉัตร
Limnophila heterophylla
Gomphostemma pedunculatum
Phaulopsis dorsiflora
Pertusaria howena
Previous
Next