Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bauhinia siamensis
Bauhinia siamensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bauhinia siamensis
K.Larsen & S.S.Larsen
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
สร้อยสยาม
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Bauhinia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:36 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:36 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง มีมือจับ กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง หูใบรูปทรงกลมถึงรูปไข่กลับ ยาว 0.6-1 ซม. ใบรูปไข่ กว้าง 4-7 ซม. ยาว 4-7.5 ซม. ปลายแยกเป็น 2 แฉก แฉกลึก 1/3 ถึง 2/5 ก้านใบ ยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ห้อยลง ยาวถึง 75 ซม. แกนกลางมีขนสั้นนุ่มสีน้ำตาลแดงเมื่ออ่อน กลีบเลี้ยงรูปปากเปิด กลีบดอกมี 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน รูปไข่กลับถึงรูปรี สีชมพูอมขาวถึงสีชมพู กว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ปลายกลม โคนสอบเรียว เกสรเพศผู้มี 3 อัน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 6 อัน รังไข่มีก้านยาวประมาณ 0.4 ซม. ผลแบบฝัก รูปขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 16-18 ซม. มีจะงอยยาวประมาณ 0.5 ซม. ก้านผลยาวประมาณ 0.6 ซม. เมล็ดรูปไข่ แบน สีน้ำตาลเข้มยาว 1.5-2 ซม.
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง มีมือจับ กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง หูใบรูปทรงกลมถึงรูปไข่กลับ ยาว 0.6-1 ซม. ใบรูปไข่ กว้าง 4-7 ซม. ยาว 4-7.5 ซม. ปลายแยกเป็น 2 แฉก แฉกลึก 1/3 ถึง 2/5 ก้านใบ ยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ห้อยลง ยาวถึง 75 ซม. แกนกลางมีขนสั้นนุ่มสีน้ำตาลแดงเมื่ออ่อน กลีบเลี้ยงรูปปากเปิด กลีบดอกมี 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน รูปไข่กลับถึงรูปรี สีชมพูอมขาวถึงสีชมพู กว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ปลายกลม โคนสอบเรียว เกสรเพศผู้มี 3 อัน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 6 อัน รังไข่มีก้านยาวประมาณ 0.4 ซม. ผลแบบฝัก รูปขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 16-18 ซม. มีจะงอยยาวประมาณ 0.5 ซม. ก้านผลยาวประมาณ 0.6 ซม. เมล็ดรูปไข่ แบน สีน้ำตาลเข้มยาว 1.5-2 ซม.
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง มีมือจับ กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง หูใบรูปทรงกลมถึงรูปไข่กลับ ยาว 0.6-1 ซม. ใบรูปไข่ กว้าง 4-7 ซม. ยาว 4-7.5 ซม. ปลายแยกเป็น 2 แฉก แฉกลึก 1/3 ถึง 2/5 ก้านใบ ยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ห้อยลง ยาวถึง 75 ซม. แกนกลางมีขนสั้นนุ่มสีน้ำตาลแดงเมื่ออ่อน กลีบเลี้ยงรูปปากเปิด กลีบดอกมี 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน รูปไข่กลับถึงรูปรี สีชมพูอมขาวถึงสีชมพู กว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ปลายกลม โคนสอบเรียว เกสรเพศผู้มี 3 อัน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 6 อัน รังไข่มีก้านยาวประมาณ 0.4 ซม. ผลแบบฝัก รูปขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 16-18 ซม. มีจะงอยยาวประมาณ 0.5 ซม. ก้านผลยาวประมาณ 0.6 ซม. เมล็ดรูปไข่ แบน สีน้ำตาลเข้มยาว 1.5-2 ซม.
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง มีมือจับ กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง หูใบรูปทรงกลมถึงรูปไข่กลับ ยาว 0.6-1 ซม. ใบรูปไข่ กว้าง 4-7 ซม. ยาว 4-7.5 ซม. ปลายแยกเป็น 2 แฉก แฉกลึก 1/3 ถึง 2/5 ก้านใบ ยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ห้อยลง ยาวถึง 75 ซม. แกนกลางมีขนสั้นนุ่มสีน้ำตาลแดงเมื่ออ่อน กลีบเลี้ยงรูปปากเปิด กลีบดอกมี 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน รูปไข่กลับถึงรูปรี สีชมพูอมขาวถึงสีชมพู กว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ปลายกลม โคนสอบเรียว เกสรเพศผู้มี 3 อัน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 6 อัน รังไข่มีก้านยาวประมาณ 0.4 ซม. ผลแบบฝัก รูปขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 16-18 ซม. มีจะงอยยาวประมาณ 0.5 ซม. ก้านผลยาวประมาณ 0.6 ซม. เมล็ดรูปไข่ แบน สีน้ำตาลเข้มยาว 1.5-2 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะที่ภูเมี่ยง จ. พิษณุโลก ขึ้นในป่าเบญจพรรณที่มีไผ่หนาแน่น ระดับความสูงประมาณ 300 เมตร
-
N Thailand: Phitsanulok (Phu Miang)
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะที่ภูเมี่ยง จ. พิษณุโลก ขึ้นในป่าเบญจพรรณที่มีไผ่หนาแน่น ระดับความสูงประมาณ 300 เมตร
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะที่ภูเมี่ยง จ. พิษณุโลก ขึ้นในป่าเบญจพรรณที่มีไผ่หนาแน่น ระดับความสูงประมาณ 300 เมตร
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะที่ภูเมี่ยง จ. พิษณุโลก ขึ้นในป่าเบญจพรรณที่มีไผ่หนาแน่น ระดับความสูงประมาณ 300 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เถา, ไม้เลื้อย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous forest, 300 m.
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dioscorea scortechinii
Bonnaya sanpabloensis
Pogonatum microstomum
Croton mangelong
พลับพลา
Microcos tomentosa
Vernonia divergens
Previous
Next