Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bauhinia pottsii
Bauhinia pottsii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bauhinia pottsii
G.Don
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Perlebia pottsii (G.Don) A.Schmitz
ชื่อไทย::
-
ชงโคดำ
-
ตุ้ยควาย
ชื่อท้องถิ่น::
-
ชงโคไฟ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Bauhinia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มเลื้อยขนาดค่อนข้างใหญ่ ไม่มีมือเกาะใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่หรือรูปเกือบกลม กว้าง 9-14 ซม. ยาว 10-15 ซม. ปบายใบแฉกลึก 1/2-1/3 ของแผ่นใบ ปลายยอดกลมมน โคนใบรูปหัวใจตื้น ผิวใบด้านบนสีอมเทา ด้านล่างมีขนนุ่มสีน้ำตาลแดง โดยเฉพาะตามเส้นใบ ก้านใบยาว 3-4 ซม. ดอกสีแดงหรือส้มแดงมีสีเหลืองอยู่ตรงกลาง กลีบข้างสีแดงเข้ม ออกเป็นช่อยาว 10 ซม. ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. กกลีบรองดอกแยกเป็น 2-5 แฉก ปลายโค้งกลับ กลีบดอก 5 กลีบ แคบ ยาว 4-6 ซม. เกสรผู้มี 3 อัน ยาว 3-4.5 ซม. เกสรเมียยาว 2-3 ซม. ผลเป็นฝักเมื่อแก่แตก มีขนนุ่ม ปลายฝักเป็นจงอย เมล็ดมี 4-6 เมล็ด รูปร่างกลมแบน ขนาด 1-1.5 ซม.
-
ไม้พุ่มรอเลื้อย มีขนสีน้ำตาลแดงตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ตาดอก และฝัก ใบรูปไข่กว้างเกือบกลม ยาว 9–15 ซม. แฉกลึกถึงประมาณกึ่งหนึ่ง ปลายแฉกกลม เส้นโคนใบข้างละ 5–7 เส้น ก้านใบยาว 3–4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาวได้ถึง 10 ซม. ก้านดอกยาว 1–1.5 ซม. ใบประดับย่อยติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก ตาดอกรูปใบหอก ยาว 3–4 ซม. ฐานดอกยาวเท่า ๆ ตาดอก กลีบเลี้ยงพับงอกลับ ดอกสีแดงอมชมพู มีปื้นสีเหลืองตรงกลาง กลีบรูปใบหอก ยาว 4–6 ซม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ยาว 3–4.5 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 2 อัน รังไข่และก้านเกสรเพศเมียมีขนยาวสีน้ำตาลแดง ฝักแบน หนา ช่วงปลายกว้าง มีจะงอยสั้น ๆ มี 4–6 เมล็ด
-
ไม้พุ่มเลื้อยขนาดค่อนข้างใหญ่ ไม่มีมือเกาะใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่หรือรูปเกือบกลม กว้าง 9-14 ซม. ยาว 10-15 ซม. ปบายใบแฉกลึก 1/2-1/3 ของแผ่นใบ ปลายยอดกลมมน โคนใบรูปหัวใจตื้น ผิวใบด้านบนสีอมเทา ด้านล่างมีขนนุ่มสีน้ำตาลแดง โดยเฉพาะตามเส้นใบ ก้านใบยาว 3-4 ซม. ดอกสีแดงหรือส้มแดงมีสีเหลืองอยู่ตรงกลาง กลีบข้างสีแดงเข้ม ออกเป็นช่อยาว 10 ซม. ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. กกลีบรองดอกแยกเป็น 2-5 แฉก ปลายโค้งกลับ กลีบดอก 5 กลีบ แคบ ยาว 4-6 ซม. เกสรผู้มี 3 อัน ยาว 3-4.5 ซม. เกสรเมียยาว 2-3 ซม. ผลเป็นฝักเมื่อแก่แตก มีขนนุ่ม ปลายฝักเป็นจงอย เมล็ดมี 4-6 เมล็ด รูปร่างกลมแบน ขนาด 1-1.5 ซม.
-
ไม้พุ่มเลื้อยขนาดค่อนข้างใหญ่ ไม่มีมือเกาะใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่หรือรูปเกือบกลม กว้าง 9-14 ซม. ยาว 10-15 ซม. ปบายใบแฉกลึก 1/2-1/3 ของแผ่นใบ ปลายยอดกลมมน โคนใบรูปหัวใจตื้น ผิวใบด้านบนสีอมเทา ด้านล่างมีขนนุ่มสีน้ำตาลแดง โดยเฉพาะตามเส้นใบ ก้านใบยาว 3-4 ซม. ดอกสีแดงหรือส้มแดงมีสีเหลืองอยู่ตรงกลาง กลีบข้างสีแดงเข้ม ออกเป็นช่อยาว 10 ซม. ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. กกลีบรองดอกแยกเป็น 2-5 แฉก ปลายโค้งกลับ กลีบดอก 5 กลีบ แคบ ยาว 4-6 ซม. เกสรผู้มี 3 อัน ยาว 3-4.5 ซม. เกสรเมียยาว 2-3 ซม. ผลเป็นฝักเมื่อแก่แตก มีขนนุ่ม ปลายฝักเป็นจงอย เมล็ดมี 4-6 เมล็ด รูปร่างกลมแบน ขนาด 1-1.5 ซม.
-
ไม้พุ่มเลื้อยขนาดค่อนข้างใหญ่ ไม่มีมือเกาะใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่หรือรูปเกือบกลม กว้าง 9-14 ซม. ยาว 10-15 ซม. ปบายใบแฉกลึก 1/2-1/3 ของแผ่นใบ ปลายยอดกลมมน โคนใบรูปหัวใจตื้น ผิวใบด้านบนสีอมเทา ด้านล่างมีขนนุ่มสีน้ำตาลแดง โดยเฉพาะตามเส้นใบ ก้านใบยาว 3-4 ซม. ดอกสีแดงหรือส้มแดงมีสีเหลืองอยู่ตรงกลาง กลีบข้างสีแดงเข้ม ออกเป็นช่อยาว 10 ซม. ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. กกลีบรองดอกแยกเป็น 2-5 แฉก ปลายโค้งกลับ กลีบดอก 5 กลีบ แคบ ยาว 4-6 ซม. เกสรผู้มี 3 อัน ยาว 3-4.5 ซม. เกสรเมียยาว 2-3 ซม. ผลเป็นฝักเมื่อแก่แตก มีขนนุ่ม ปลายฝักเป็นจงอย เมล็ดมี 4-6 เมล็ด รูปร่างกลมแบน ขนาด 1-1.5 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณชายป่าระดับต่ำในมาเลเซียและในภาคใต้ของประเทศไทย ออกดอกเดือนกันยายน-ธันวาคม
-
พบบริเวณชายป่าระดับต่ำในมาเลเซียและในภาคใต้ของประเทศไทย ออกดอกเดือนกันยายน-ธันวาคม
-
พบบริเวณชายป่าระดับต่ำในมาเลเซียและในภาคใต้ของประเทศไทย ออกดอกเดือนกันยายน-ธันวาคม
-
พบบริเวณชายป่าระดับต่ำในมาเลเซียและในภาคใต้ของประเทศไทย ออกดอกเดือนกันยายน-ธันวาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติแหลมสน-ปากแม่น้ำกระบุรี-ปากคลองกะเปอร์
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ราชบุรี
-
ชัยภูมิ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Croton robustus
Ficus pubilimba
ตุ้มขว้าว
Mitragyna brunonis
Pilea verrucosa
Ellipeiopsis cherrevensis
Oleandra wallichii
Previous
Next