Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bauhinia integrifolia
Bauhinia integrifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bauhinia integrifolia
Roxb.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
เถาไฟ
ชื่อท้องถิ่น::
-
ชงโคย่าน ชิงโคย่าน ปอลิง เล็บควายใหญ่ โยทะกา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Bauhinia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อยขนาดใหญ่ มีมือเกาะ ยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ขอบเป็นคลื่น ยาว8-15 มม. เกสรผู้ 3 อัน ผลเป็นฝักรูปขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 15-20 ซม. เมื่อแก่แตก มี 5-8 เมล็ด ลักษณะแบนเกือบกลม ขนาด 2 ซม.
-
ไม้เลื้อยขนาดใหญ่ มีมือเกาะ ยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ขอบเป็นคลื่น ยาว8-15 มม. เกสรผู้ 3 อัน ผลเป็นฝักรูปขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 15-20 ซม. เมื่อแก่แตก มี 5-8 เมล็ด ลักษณะแบนเกือบกลม ขนาด 2 ซม.
-
ไม้เลื้อยขนาดใหญ่ มีมือเกาะ ยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ขอบเป็นคลื่น ยาว8-15 มม. เกสรผู้ 3 อัน ผลเป็นฝักรูปขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 15-20 ซม. เมื่อแก่แตก มี 5-8 เมล็ด ลักษณะแบนเกือบกลม ขนาด 2 ซม.
-
ไม้เลื้อยขนาดใหญ่ มีมือเกาะ ยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ขอบเป็นคลื่น ยาว8-15 มม. เกสรผู้ 3 อัน ผลเป็นฝักรูปขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 15-20 ซม. เมื่อแก่แตก มี 5-8 เมล็ด ลักษณะแบนเกือบกลม ขนาด 2 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบจากอินเดียถึงมาเลเซีย ในประเทศไทยพบกระจายทางภาคใต้ตามป่าดิบชื้น ตั้งแต่ระดับใกล้น้ำทะเล จนถึงระดับความสูง 900 ม.
-
พบจากอินเดียถึงมาเลเซีย ในประเทศไทยพบกระจายทางภาคใต้ตามป่าดิบชื้น ตั้งแต่ระดับใกล้น้ำทะเล จนถึงระดับความสูง 900 ม.
-
พบจากอินเดียถึงมาเลเซีย ในประเทศไทยพบกระจายทางภาคใต้ตามป่าดิบชื้น ตั้งแต่ระดับใกล้น้ำทะเล จนถึงระดับความสูง 900 ม.
-
พบจากอินเดียถึงมาเลเซีย ในประเทศไทยพบกระจายทางภาคใต้ตามป่าดิบชื้น ตั้งแต่ระดับใกล้น้ำทะเล จนถึงระดับความสูง 900 ม.
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Choerospondias axillaris
Amorphophallus elatus
Mansonia gagei
Syzygium skiophilum
Lithocarpus sootepensis
Engelhardtia serrata
Previous
Next