Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bauhinia curtisii
Bauhinia curtisii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bauhinia curtisii
Prain
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Khruea khao kaep
ชื่อไทย:
-
เครือเขาแกบ
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Bauhinia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มถึงไม้เลื้อยเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนมีขนสั้น ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้างถึงแกมขอบขนาน ส่วนปลายแผ่นใบเว้าตื้น โคนใบมน ถึงแกมรูปหัวใจ ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน มีมือเกาะเป็นเส้นโค้งงอ ดอก สีเขียวอมเหลือง ออกเป็นช่อกระจะตั้งขึ้น ยาวถึง 20 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก ประมาณ 0.8-1 ซม. กลีบรองดอกปลายแยก 2-3 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน 2 กลีบล่างรูปคล้ายช้อน 3 กลีบบนมีลักษณะแคบ โคนกลีบเรียวเล็ก เกสรผู้ 3 อันมี 2 อัน เป็นหมัน มีขนาดเล็ก รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝัก กว้าง 1.5 ซม. ยาว 5-6 ซม. ปลายผลเป็นจงอยโค้ง เมื่อแก่แล้วแตก มี 2-6 เมล็ด ลักษณะแบน
-
ไม้เถา
-
ไม้พุ่มถึงไม้เลื้อยเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนมีขนสั้น ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้างถึงแกมขอบขนาน ส่วนปลายแผ่นใบเว้าตื้น โคนใบมน ถึงแกมรูปหัวใจ ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน มีมือเกาะเป็นเส้นโค้งงอ ดอก สีเขียวอมเหลือง ออกเป็นช่อกระจะตั้งขึ้น ยาวถึง 20 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก ประมาณ 0.8-1 ซม. กลีบรองดอกปลายแยก 2-3 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน 2 กลีบล่างรูปคล้ายช้อน 3 กลีบบนมีลักษณะแคบ โคนกลีบเรียวเล็ก เกสรผู้ 3 อันมี 2 อัน เป็นหมัน มีขนาดเล็ก รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝัก กว้าง 1.5 ซม. ยาว 5-6 ซม. ปลายผลเป็นจงอยโค้ง เมื่อแก่แล้วแตก มี 2-6 เมล็ด ลักษณะแบน
-
ไม้พุ่มถึงไม้เลื้อยเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนมีขนสั้น ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้างถึงแกมขอบขนาน ส่วนปลายแผ่นใบเว้าตื้น โคนใบมน ถึงแกมรูปหัวใจ ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน มีมือเกาะเป็นเส้นโค้งงอ ดอก สีเขียวอมเหลือง ออกเป็นช่อกระจะตั้งขึ้น ยาวถึง 20 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก ประมาณ 0.8-1 ซม. กลีบรองดอกปลายแยก 2-3 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน 2 กลีบล่างรูปคล้ายช้อน 3 กลีบบนมีลักษณะแคบ โคนกลีบเรียวเล็ก เกสรผู้ 3 อันมี 2 อัน เป็นหมัน มีขนาดเล็ก รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝัก กว้าง 1.5 ซม. ยาว 5-6 ซม. ปลายผลเป็นจงอยโค้ง เมื่อแก่แล้วแตก มี 2-6 เมล็ด ลักษณะแบน
-
ไม้พุ่มถึงไม้เลื้อยเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนมีขนสั้น ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้างถึงแกมขอบขนาน ส่วนปลายแผ่นใบเว้าตื้น โคนใบมน ถึงแกมรูปหัวใจ ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน มีมือเกาะเป็นเส้นโค้งงอ ดอก สีเขียวอมเหลือง ออกเป็นช่อกระจะตั้งขึ้น ยาวถึง 20 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก ประมาณ 0.8-1 ซม. กลีบรองดอกปลายแยก 2-3 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน 2 กลีบล่างรูปคล้ายช้อน 3 กลีบบนมีลักษณะแคบ โคนกลีบเรียวเล็ก เกสรผู้ 3 อันมี 2 อัน เป็นหมัน มีขนาดเล็ก รังไข่เกลี้ยง ผล เป็นฝัก กว้าง 1.5 ซม. ยาว 5-6 ซม. ปลายผลเป็นจงอยโค้ง เมื่อแก่แล้วแตก มี 2-6 เมล็ด ลักษณะแบน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทั่วทุกภาคตามชายป่าดงดิบ ที่ชื้นแฉะ หรือบนเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 500 เมตร
-
พบในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทั่วทุกภาคตามชายป่าดงดิบ ที่ชื้นแฉะ หรือบนเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 500 เมตร
-
พบในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทั่วทุกภาคตามชายป่าดงดิบ ที่ชื้นแฉะ หรือบนเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 500 เมตร
-
พบในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทั่วทุกภาคตามชายป่าดงดิบ ที่ชื้นแฉะ หรือบนเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 500 เมตร
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Curcuma ecomata
Stachyphrynium spicatum
Phlegmariurus phlegmaria
Cyperus digitatus
Pronephrium glandulosum
Acetabularia exigua
Previous
Next