Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Bauhinia bracteata
Bauhinia bracteata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Bauhinia bracteata
(Benth.) Baker
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Lasiobema (Korth.) Miq.
- Telestria Raf.
ชื่อไทย:
-
ปอเจี๋ยน
-
เสี้ยวเครือ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Bauhinia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:41 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:41 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือกลม กว้าง 3-12 ซม. ยาว 3-15 ซม. ปลายเป็นแฉกลึก ประมาณ 1/3 ของความยาวใบ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงขนาดใหญ่ ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีเขียวอ่อนอมเหลือง มีจานฐานดอกสีแดงสด ฝักแบน รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ออกดอกเดือน มิ.ย.-ส.ค.
-
ไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือกลม กว้าง 3-12 ซม. ยาว 3-15 ซม. ปลายเป็นแฉกลึก ประมาณ 1/3 ของความยาวใบ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงขนาดใหญ่ ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีเขียวอ่อนอมเหลือง มีจานฐานดอกสีแดงสด ฝักแบน รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ออกดอกเดือน มิ.ย.-ส.ค.
-
ไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือกลม กว้าง 3-12 ซม. ยาว 3-15 ซม. ปลายเป็นแฉกลึก ประมาณ 1/3 ของความยาวใบ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงขนาดใหญ่ ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีเขียวอ่อนอมเหลือง มีจานฐานดอกสีแดงสด ฝักแบน รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ออกดอกเดือน มิ.ย.-ส.ค.
-
ไม้เลื้อยมีเนื้อไม้ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือกลม กว้าง 3-12 ซม. ยาว 3-15 ซม. ปลายเป็นแฉกลึก ประมาณ 1/3 ของความยาวใบ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงขนาดใหญ่ ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกสีเขียวอ่อนอมเหลือง มีจานฐานดอกสีแดงสด ฝักแบน รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ออกดอกเดือน มิ.ย.-ส.ค.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Wrightia karaketii
มันหมูใบเล็ก
Strombosia ceylanica
Albizia lebbekioides
Schumannianthus dichotomus
Curcuma bella
Chaetomitrium warburgii
Previous
Next