Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Blachia siamensis
Blachia siamensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Blachia siamensis
Gagnep.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Blachia jatrophifolia var. siamensis Craib
ชื่อสามัญ::
-
Kra chit
ชื่อไทย:
-
กระชิด
-
ขี้แรด
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระชิด (ภาคใต้) กาซึ้ม (จันทบุรี) ขี้แรด (ระนอง) ขี้แรดควน อีแรด (ปัตตานี) ขี้แรดเมีย (สุราษฎร์ธานี) ไขนกฤช (สระบุรี) ไม (มาเลย์) หนามแจง (ลำปาง) ข่อยหนาม
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Euphorbiaceae
สกุล:
Blachia
ปีที่ตีพิมพ์:
2014
วันที่อัพเดท :
9 พ.ย. 2566 17:17 น.
วันที่สร้าง:
9 พ.ย. 2566 17:17 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม กึ่ง ไม้ต้นขนาดเล็ก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ต้น : ไม้ต้น สูง 15- 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม แตกกิ่งจำนวนมาก มีหนาม กิ่งมีขนประปรายหรือหนาแน่น หูใบมักร่วงง่าย
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปรี รูปไข่กลับ รูปไข่กลับ หรือเกือบกลม ยาว 4-25 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว ปลายเป็นติ่งแหลมคล้ายหนาม โคนใบรูปลิ่มหรือมนกลม แผ่นใบหนา แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ขอบใบจักฟันเลื่อยเป็นหนามแหลม
- ดอก: ดอกแยกเพศต่างต้น ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยวๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ ดอกจำนวนมาก ก้านดอกสั้นมาก ใบประดับรูปรี เรียงซ้อนเหลื่อม ติดที่โคนก้าน กลีบรวม 4 กลีบ เกสรเพศผู้ยาว 2-2.5 มิลลิเมตร ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจะ ออกเดี่ยวๆ ใบประดับติดที่โคน มี 1-3 ดอกในแต่ละช่อ ก้านดอกยาว 2-8 มิลลิเมตร กลีบรวม 4 มีขนครุย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ยอดเกสรแยก 2 แฉก
- ผล: ผลทรงกลมหรือรี
-
- ต้น : ไม้ต้น สูง 15- 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม แตกกิ่งจำนวนมาก มีหนาม กิ่งมีขนประปรายหรือหนาแน่น หูใบมักร่วงง่าย
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปรี รูปไข่กลับ รูปไข่กลับ หรือเกือบกลม ยาว 4-25 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว ปลายเป็นติ่งแหลมคล้ายหนาม โคนใบรูปลิ่มหรือมนกลม แผ่นใบหนา แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ขอบใบจักฟันเลื่อยเป็นหนามแหลม
- ดอก: ดอกแยกเพศต่างต้น ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยวๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ ดอกจำนวนมาก ก้านดอกสั้นมาก ใบประดับรูปรี เรียงซ้อนเหลื่อม ติดที่โคนก้าน กลีบรวม 4 กลีบ เกสรเพศผู้ยาว 2-2.5 มิลลิเมตร ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจะ ออกเดี่ยวๆ ใบประดับติดที่โคน มี 1-3 ดอกในแต่ละช่อ ก้านดอกยาว 2-8 มิลลิเมตร กลีบรวม 4 มีขนครุย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ยอดเกสรแยก 2 แฉก
- ผล: ผลทรงกลมหรือรี
-
- ต้น : ไม้ต้น สูง 15- 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม แตกกิ่งจำนวนมาก มีหนาม กิ่งมีขนประปรายหรือหนาแน่น หูใบมักร่วงง่าย
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปรี รูปไข่กลับ รูปไข่กลับ หรือเกือบกลม ยาว 4-25 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว ปลายเป็นติ่งแหลมคล้ายหนาม โคนใบรูปลิ่มหรือมนกลม แผ่นใบหนา แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ขอบใบจักฟันเลื่อยเป็นหนามแหลม
- ดอก: ดอกแยกเพศต่างต้น ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยวๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ ดอกจำนวนมาก ก้านดอกสั้นมาก ใบประดับรูปรี เรียงซ้อนเหลื่อม ติดที่โคนก้าน กลีบรวม 4 กลีบ เกสรเพศผู้ยาว 2-2.5 มิลลิเมตร ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจะ ออกเดี่ยวๆ ใบประดับติดที่โคน มี 1-3 ดอกในแต่ละช่อ ก้านดอกยาว 2-8 มิลลิเมตร กลีบรวม 4 มีขนครุย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ยอดเกสรแยก 2 แฉก
- ผล: ผลทรงกลมหรือรี
-
- ต้น : ไม้ต้น สูง 15- 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม แตกกิ่งจำนวนมาก มีหนาม กิ่งมีขนประปรายหรือหนาแน่น หูใบมักร่วงง่าย
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปรี รูปไข่กลับ รูปไข่กลับ หรือเกือบกลม ยาว 4-25 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว ปลายเป็นติ่งแหลมคล้ายหนาม โคนใบรูปลิ่มหรือมนกลม แผ่นใบหนา แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ขอบใบจักฟันเลื่อยเป็นหนามแหลม
- ดอก: ดอกแยกเพศต่างต้น ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยวๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ ดอกจำนวนมาก ก้านดอกสั้นมาก ใบประดับรูปรี เรียงซ้อนเหลื่อม ติดที่โคนก้าน กลีบรวม 4 กลีบ เกสรเพศผู้ยาว 2-2.5 มิลลิเมตร ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจะ ออกเดี่ยวๆ ใบประดับติดที่โคน มี 1-3 ดอกในแต่ละช่อ ก้านดอกยาว 2-8 มิลลิเมตร กลีบรวม 4 มีขนครุย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ยอดเกสรแยก 2 แฉก
- ผล: ผลทรงกลมหรือรี
-
- ต้น : ไม้ต้น สูง 15- 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม แตกกิ่งจำนวนมาก มีหนาม กิ่งมีขนประปรายหรือหนาแน่น หูใบมักร่วงง่าย
- ใบ : ใบเดี่ยว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปรี รูปไข่กลับ รูปไข่กลับ หรือเกือบกลม ยาว 4-25 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือแหลมยาว ปลายเป็นติ่งแหลมคล้ายหนาม โคนใบรูปลิ่มหรือมนกลม แผ่นใบหนา แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ขอบใบจักฟันเลื่อยเป็นหนามแหลม
- ดอก: ดอกแยกเพศต่างต้น ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยวๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ ดอกจำนวนมาก ก้านดอกสั้นมาก ใบประดับรูปรี เรียงซ้อนเหลื่อม ติดที่โคนก้าน กลีบรวม 4 กลีบ เกสรเพศผู้ยาว 2-2.5 มิลลิเมตร ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจะ ออกเดี่ยวๆ ใบประดับติดที่โคน มี 1-3 ดอกในแต่ละช่อ ก้านดอกยาว 2-8 มิลลิเมตร กลีบรวม 4 มีขนครุย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ยอดเกสรแยก 2 แฉก
- ผล: ผลทรงกลมหรือรี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
สตูล
-
นครศรีธรรมราช
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ชุมพร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dioscorea pseudotomentosa
ชะคราม
Suaeda maritima
Salacia rostrata
Pyrus lindleyi
Bulbophyllum auratum
Miliusa sclerocarpa
Previous
Next