Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cyperaceae involucratus
Cyperaceae involucratus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Carex demareei Palmer
- Kobresiaceae
ชื่อสามัญ::
-
Kok san suea
ชื่อไทย::
-
กกสานเสื่อ
อาณาจักร::
Plantae
สกุล:
Cyperaceae
วันที่อัพเดท :
9 พ.ย. 2566 10:04 น.
วันที่สร้าง:
9 พ.ย. 2566 10:04 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ชื่อตามตำราการแพทย์แผนไทย กกกลม
ชื่อท้องถิ่น กกกลม(ทั่วไป) กกจันทบุรี(กรุงเทพฯ) กกสานเสื่อ(จันทบุรี) กกต้นกลม กกขนาก หญ้าลังดา กกดอกแดง
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะวิสัย ไม้ล้มลุก
ลักษณะสมุนไพร พืช/สัตว์/แร่ธาตุ กกอายุหลายปี มีเหง้าแข็งใต้ดิน ลำต้นตั้งตรง กลม ผิวเกลี้ยง สูง 80–200 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 5–10 มม. ใบลดรูปเหลือเพียงกาบใบเป็นแผ่นบางซ้อนกันที่โคนต้น ใบประดับ จำนวน 2–4 แผ่น รูปหอก ยาวประมาณ 3.5 ซม. ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดกว้าง 5–9 ซม. ยาว7–18 ซม. ช่อดอกย่อยรูปขอบขนาน แบนทางด้านข้างหรือค่อนข้างกลม กาบช่อย่อยออกสลับ แบบตรงข้าม มากกว่า 9 แผ่น ขอบเป็นเยื่อบาง สีน้ำตาล อับเรณู 3 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 3 ก้าน สีเหลือง ผล รูปสามเหลี่ยม รี ผิวเกลี้ยงสีน้ำตาล
ถิ่นกำเนิดและการกระจายพันธุ์ เขตร้อนทวีปเอเชีย พบในที่ลุ่มน้ำขังทั่วไป1 บางตำราว่าอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา มาดากัสการ์ อินเดีย ศรีลังกา ภูมิภาคอินโดจีน และออสเตรเลียตอนบน ขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ความสูงระดับต่ำๆ ในไทยปลูกเพื่อใช้ทอเสื่อคุณภาพสูง และสานตะกร้า
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก กกอายุหลายปี มีเหง้าแข็งใต้ดิน ลำต้นตั้งตรง กลม ผิวเกลี้ยง สูง 80–200 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 5–10 มม. ใบลดรูปเหลือเพียงกาบใบเป็นแผ่นบางซ้อนกันที่โคนต้น ใบประดับ จำนวน 2–4 แผ่น รูปหอก ยาวประมาณ 3.5 ซม. ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดกว้าง 5–9 ซม. ยาว7–18 ซม. ช่อดอกย่อยรูปขอบขนาน แบนทางด้านข้างหรือค่อนข้างกลม กาบช่อย่อยออกสลับ แบบตรงข้าม มากกว่า 9 แผ่น ขอบเป็นเยื่อบาง สีน้ำตาล อับเรณู 3 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 3 ก้าน สีเหลือง ผล รูปสามเหลี่ยม รี ผิวเกลี้ยงสีน้ำตาล
การกระจายพันธุ์ :
-
เขตร้อนทวีปเอเชีย พบในที่ลุ่มน้ำขังทั่วไป1 บางตำราว่าอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา มาดากัสการ์ อินเดีย ศรีลังกา ภูมิภาคอินโดจีน และออสเตรเลียตอนบน ขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ความสูงระดับต่ำๆ ในไทยปลูกเพื่อใช้ทอเสื่อคุณภาพสูง และสานตะกร้า
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ดรุณีวัลย์
Ceropegia cochleata
Elaeocarpus varunua
Neoscortechinia philippinensis
Dendrobium sanguinolentum
งวงชุ่ม
Combretum pilosum
Davallia embolostegia
Previous
Next