รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาปะช้าง-แหลมขาม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทะเลบัน
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
-
อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
-
อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ต้นจิกนม จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง มีความสูงได้ประมาณ 4-20 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาออกรอบต้น แต่ไม่มากนัก เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบขึ้นตามป่าดงดิบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของไทย
ใบจิกนม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันไปตามข้อต้น ลักษณะของใบเป็นรูปยาวรี ปลายใบและโคนใบแหลม ส่วนขอบใบมีจักเล็ก ๆ ทั่วทั้งใบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-3 นิ้ว และยาวประมาณ 6-9 นิ้ว เนื้อใบบางคล้ายกระดาษสีเขียว ก้านใบยาวประมาณ 1-3 นิ้ว
ดอกจิกนม ออกดอกเป็นช่อตรงส่วนยอดของต้น ช่อดอกมีลักษณะห้อยลง ช่อยาวประมาณ 9-18 นิ้ว ในแต่ละช่อดอกจะประกอบไปด้วยดอกเป็นจำนวนมาก ดอกเป็นสีแดง สีชมพูเข้ม หรือสีเขียวขอบแดง มีอยู่ 4 กลีบ ส่วนกลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย มี 4 กลีบ เป็นสีแดง แดงเข้ม หรือสีม่วง ตรงฐานดอกจะมีร่องลึกเป็นวงอยู่ ดอกมีเกสรเป็นจำนวนมากอยู่ในดอก
ผลจิกนม ลักษณะของผลเป็นรูปมนรีและมีสัน 4 สันตามแนวยาว ผลเป็นสีเขียว มีขนาดกว้างประมาณ 1-1.5 นิ้ว และยาวประมาณ 2-3.5 นิ้ว ภายในผลมีเมล็ดลักษณะเป็นรูปไข่
-
ต้นจิกนม จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง มีความสูงได้ประมาณ 4-20 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาออกรอบต้น แต่ไม่มากนัก เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบขึ้นตามป่าดงดิบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของไทย
ใบจิกนม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันไปตามข้อต้น ลักษณะของใบเป็นรูปยาวรี ปลายใบและโคนใบแหลม ส่วนขอบใบมีจักเล็ก ๆ ทั่วทั้งใบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-3 นิ้ว และยาวประมาณ 6-9 นิ้ว เนื้อใบบางคล้ายกระดาษสีเขียว ก้านใบยาวประมาณ 1-3 นิ้ว
ดอกจิกนม ออกดอกเป็นช่อตรงส่วนยอดของต้น ช่อดอกมีลักษณะห้อยลง ช่อยาวประมาณ 9-18 นิ้ว ในแต่ละช่อดอกจะประกอบไปด้วยดอกเป็นจำนวนมาก ดอกเป็นสีแดง สีชมพูเข้ม หรือสีเขียวขอบแดง มีอยู่ 4 กลีบ ส่วนกลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย มี 4 กลีบ เป็นสีแดง แดงเข้ม หรือสีม่วง ตรงฐานดอกจะมีร่องลึกเป็นวงอยู่ ดอกมีเกสรเป็นจำนวนมากอยู่ในดอก
ผลจิกนม ลักษณะของผลเป็นรูปมนรีและมีสัน 4 สันตามแนวยาว ผลเป็นสีเขียว มีขนาดกว้างประมาณ 1-1.5 นิ้ว และยาวประมาณ 2-3.5 นิ้ว ภายในผลมีเมล็ดลักษณะเป็นรูปไข่
-
ต้นจิกนม จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง มีความสูงได้ประมาณ 4-20 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาออกรอบต้น แต่ไม่มากนัก เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบขึ้นตามป่าดงดิบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของไทย
ใบจิกนม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันไปตามข้อต้น ลักษณะของใบเป็นรูปยาวรี ปลายใบและโคนใบแหลม ส่วนขอบใบมีจักเล็ก ๆ ทั่วทั้งใบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-3 นิ้ว และยาวประมาณ 6-9 นิ้ว เนื้อใบบางคล้ายกระดาษสีเขียว ก้านใบยาวประมาณ 1-3 นิ้ว
ดอกจิกนม ออกดอกเป็นช่อตรงส่วนยอดของต้น ช่อดอกมีลักษณะห้อยลง ช่อยาวประมาณ 9-18 นิ้ว ในแต่ละช่อดอกจะประกอบไปด้วยดอกเป็นจำนวนมาก ดอกเป็นสีแดง สีชมพูเข้ม หรือสีเขียวขอบแดง มีอยู่ 4 กลีบ ส่วนกลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย มี 4 กลีบ เป็นสีแดง แดงเข้ม หรือสีม่วง ตรงฐานดอกจะมีร่องลึกเป็นวงอยู่ ดอกมีเกสรเป็นจำนวนมากอยู่ในดอก
ผลจิกนม ลักษณะของผลเป็นรูปมนรีและมีสัน 4 สันตามแนวยาว ผลเป็นสีเขียว มีขนาดกว้างประมาณ 1-1.5 นิ้ว และยาวประมาณ 2-3.5 นิ้ว ภายในผลมีเมล็ดลักษณะเป็นรูปไข่
-
ต้นจิกนม จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง มีความสูงได้ประมาณ 4-20 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาออกรอบต้น แต่ไม่มากนัก เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบขึ้นตามป่าดงดิบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของไทย
ใบจิกนม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันไปตามข้อต้น ลักษณะของใบเป็นรูปยาวรี ปลายใบและโคนใบแหลม ส่วนขอบใบมีจักเล็ก ๆ ทั่วทั้งใบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-3 นิ้ว และยาวประมาณ 6-9 นิ้ว เนื้อใบบางคล้ายกระดาษสีเขียว ก้านใบยาวประมาณ 1-3 นิ้ว
ดอกจิกนม ออกดอกเป็นช่อตรงส่วนยอดของต้น ช่อดอกมีลักษณะห้อยลง ช่อยาวประมาณ 9-18 นิ้ว ในแต่ละช่อดอกจะประกอบไปด้วยดอกเป็นจำนวนมาก ดอกเป็นสีแดง สีชมพูเข้ม หรือสีเขียวขอบแดง มีอยู่ 4 กลีบ ส่วนกลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย มี 4 กลีบ เป็นสีแดง แดงเข้ม หรือสีม่วง ตรงฐานดอกจะมีร่องลึกเป็นวงอยู่ ดอกมีเกสรเป็นจำนวนมากอยู่ในดอก
ผลจิกนม ลักษณะของผลเป็นรูปมนรีและมีสัน 4 สันตามแนวยาว ผลเป็นสีเขียว มีขนาดกว้างประมาณ 1-1.5 นิ้ว และยาวประมาณ 2-3.5 นิ้ว ภายในผลมีเมล็ดลักษณะเป็นรูปไข่
-
ต้นจิกนม จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง มีความสูงได้ประมาณ 4-20 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาออกรอบต้น แต่ไม่มากนัก เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบขึ้นตามป่าดงดิบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของไทย
ใบจิกนม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันไปตามข้อต้น ลักษณะของใบเป็นรูปยาวรี ปลายใบและโคนใบแหลม ส่วนขอบใบมีจักเล็ก ๆ ทั่วทั้งใบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-3 นิ้ว และยาวประมาณ 6-9 นิ้ว เนื้อใบบางคล้ายกระดาษสีเขียว ก้านใบยาวประมาณ 1-3 นิ้ว
ดอกจิกนม ออกดอกเป็นช่อตรงส่วนยอดของต้น ช่อดอกมีลักษณะห้อยลง ช่อยาวประมาณ 9-18 นิ้ว ในแต่ละช่อดอกจะประกอบไปด้วยดอกเป็นจำนวนมาก ดอกเป็นสีแดง สีชมพูเข้ม หรือสีเขียวขอบแดง มีอยู่ 4 กลีบ ส่วนกลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย มี 4 กลีบ เป็นสีแดง แดงเข้ม หรือสีม่วง ตรงฐานดอกจะมีร่องลึกเป็นวงอยู่ ดอกมีเกสรเป็นจำนวนมากอยู่ในดอก
ผลจิกนม ลักษณะของผลเป็นรูปมนรีและมีสัน 4 สันตามแนวยาว ผลเป็นสีเขียว มีขนาดกว้างประมาณ 1-1.5 นิ้ว และยาวประมาณ 2-3.5 นิ้ว ภายในผลมีเมล็ดลักษณะเป็นรูปไข่
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สงขลา
-
สงขลา
-
สงขลา
-
นครศรีธรรมราช
-
พัทลุง
-
จันทบุรี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สตูล
-
นครศรีธรรมราช
-
สงขลา
-
สงขลา
-
ตรัง, สตูล
-
นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
-
นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
-
นครศรีธรรมราช
-
นครศรีธรรมราช
-
นครศรีธรรมราช
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กระบี่, ตรัง
-
กระบี่, ตรัง
-
กระบี่, ตรัง
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
-
พังงา
-
พังงา
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ตาก