Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Paederia scandens
Paederia scandens
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Paederia scandens
(Lour.) Merr.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ย่านพาโหม
ชื่อท้องถิ่น::
-
ย่านพาโหม (สุราษฎร์ธานี) เถาผ้าห่ม (ประจวบคีรีขันธ์) มันปู(สงขลา) ตดหมา ปาดูนู (ภาคเหนือ)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Rubiaceae
สกุล:
Paederia
ปีที่ตีพิมพ์:
2006
วันที่อัพเดท :
27 มิ.ย. 2566 11:11 น.
วันที่สร้าง:
27 มิ.ย. 2566 11:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เถา/ไม้เลื้อย
-
ลักษณะลำต้นเลื้อยพัน อายุหลายปี ลำต้นเรียวยาว มีกลิ่นฉุน กิ่งมีขนละเอียดสีขาวปกคลุม ใบเดี่ยว (simple) เรียงตรงกันข้าม รูปร่างใบรูปไข่ (ovate) รูปขอบขนาน (oblong) และรูปขอบขนานแกมไข่ (ovate-oblong) หน้าใบและหลังใบมีขนละเอียดสั้นๆปกคลุมตามเส้นกลางใบ เส้นใบ และปกคลุมหนาแน่นตามขอบใบ หลังใบมีปุยขนสั้นๆสีขาว เป็นกระจุกที่มุมเส้นกลางใบตัดกับเส้นใบมีหูใบ (stipule) ออกดอกตามซอกใบ กลีบดอกสีม่วงแดง พันธุ์ที่รวบรวมมี 2 กลุ่ม คือ P. tomentosa var.glabra ใบจะบางกว่า กลิ่นฉุนกว่า รับประทานได้ ส่วน P. tomentosa กลิ่นเหม็นเขียว รับประทานไม่ได้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
นครศรีธรรมราช, สตูล
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, บริเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ระหว่างรอยต่อของทางแยกแม่แจ่ม-จอมทอง
-
พบที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 35-77 เมตร ในดินที่มีสภาพดินลูกรัง pH 7 เช่น อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช อำเภอทุ่งหว้า อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 2.2-3.5 มิลลิเมตร ใบกว้าง 2.4-4.0 เซนติเมตร ยาว 7.1-10.2 เซนติเมตร ก้านใบยาว 1.8-4.1 เซนติเมตร
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
ที่มาของข้อมูล
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Eulophia flava
Acampe rigida
พลูป่า
Piper macropiper
Cyathophorum adiantum
ก่วมแดง
Acer calcaratum
เหง้าน้ำทิพย์
Agapetes saxicola
Previous
Next