Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Dunbaria bella
Dunbaria bella
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Dunbaria bella
Prain
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Dunbaria longeracemosa Craib
ชื่อสามัญ::
-
Khang khrang
ชื่อไทย::
-
ขางครั่ง
ชื่อท้องถิ่น::
-
ขางครั่ง (ลำพูน), ดอกครั่ง (เชียงใหม่) , เถาครั่ง (เลย)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Dunbaria
ปีที่ตีพิมพ์:
2011
วันที่อัพเดท :
15 พ.ค. 2566 14:00 น.
วันที่สร้าง:
15 พ.ค. 2566 14:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
นครราชสีมา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
พื้นที่ตำบลหนองสาหร่าย อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถา
-
ลำต้นยาวประมาณ 3-5 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 2.83-9.47 มิลลิเมตร ความยาวใบกลาง 5.94-8.88 เซนติเมตร กว้าง 2.05-2.73 เซนติเมตร ใบข้างยาว 5.11-6.61 เซนติเมตร กว้าง 1.8-2.14 เซนติเมตร ก้านใบรวมยาว 1.01-2.91 เซนติเมตร ก้านใบข้างสั้นมากยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร หูใบรูปแหลม (filiform) สั้น 0.5-1 มิลลิเมตร ดอกออกที่ตาข้างช่อดอกแบบช่อกระจะ (raceme) ยาว 6.43-14.29 เซนติเมตร ดอกรูปดอกถั่ว จำนวน 6-35 ดอกต่อช่อ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชอายุค้างปี ลำต้นเป็นเถาเลื้อยพัน (twinning) ใบมี 3 ใบย่อย (pinnately-trifoliate ) รูปร่างใบย่อยแบบขอบขนาน (oblong) ใบกลางปลายใบมน โคนใบกลม (rounded) ใบข้างขอบใบด้านล่างเบี้ยว (unequal) หน้าใบและหลังใบมีขนละเอียดสั้น ๆ ปกคลุมหนาแน่น ผิวใบนุ่ม (tender) สีใบด้านหน้าเขียวอมเหลืองอ่อน ถึงเขียวเข้ม ค่อนข้างมัน สีใบด้านหลังเขียวอมเหลืองเข้มกว่าด้านหน้าและผิวด้านเล็กน้อย เส้นใบ (vein) ด้านหลังนูนขึ้นเป็นสันเล็กน้อย เส้นใบแตกแบบขนนก (pinnate) ขอบใบมีรอยหยักแบบขนครุย (ciliate) ก้านใบมีขนปก หูใบรูปแหลม (filiform) ออกดอกเดือน พฤศจิกายน – มกราคม ดอกออกที่ตาข้างช่อดอกแบบช่อกระจะ (raceme) ดอกรูปดอกถั่ว กิดเรียงสลับรอบแกนช่อดอก กลีบดอกด้านนอกสีเขียวอมเหลือง กลีบดอกด้านในสีม่วงอมแดงเข้ม ผลเป็นฝักยาวค่อนข้างแบน มีขน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นอยู่ในพื้นที่มีร่มเงาเล็กน้อย ดินเหนียว เนื้อดินละเอียด
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Schizostachyum brachycladum
หมักม่อ
Rothmannia wittii
ยางวาด
Dipterocarpus chartaceous
Thyrsostachys oliveri
Dichanthium mucronulatum
Oberonia emarginata
Previous
Next