Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Acridotheres cinereus
Acridotheres cinereus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Acridotheres cinereus
Bonaparte, 1850
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
White-vented Myna
ชื่อไทย::
-
นกเอี้ยงหงอน
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Sturnidae
สกุล:
Acridotheres
ปีที่ตีพิมพ์:
1998
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
2 มิ.ย. 2564 08:51 น.
วันที่สร้าง:
2 มิ.ย. 2564 08:51 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็ก (25 ซม.) สีสันโดยทั่วไปเป็นสีดำ มีพุ่มหงอนขนสีดำบนหัวยาว ขาและนิ้วสีเหลือง มีลายพาดสีขาวบริเวณโคนของขนปลายปีก ซึ่งจะเห็นได้ขัด ขณะที่นกกำลังบิน ปลายหางมีแถบขนาดกว้างสีขาว ขนคลุมขนทางด้านล่างสีขาว ตาสีน้ำตาลจนถึงน้ำตาลแกมส้ม
ระบบนิเวศ :
-
พบตามทุ่งโล่งใกล้กับแหล่งน้ำ สวนผลไม้ ชุมชน หากินทั้งบนพื้นดิน และบนต้นไม้ แต่พบเป็นประจำที่เดินหรือกระโดดตาม หรือเกาะบนหลังสัตว์เลี้ยงพวกวัวควาย เพื่อจิกแมลงต่างๆ ที่มาตอม หรือแมลงที่บินหนีหลังจากที่วัวควายเหยียบย่ำในทุ่งหญ้า
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
เชียงใหม่,ลำพูน,ตาก,กำแพงเพชร
-
พะเยา
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ทำรังด้วยการนำฟางข้าว ใบไม้ กิ่งไม้ มาวางในโพรงไม้เก่าของนกหรือสัตว์อื่นๆ แต่ละวังมีไข่ 4-5 ฟอง ไข่สีน้ำเงิน ระยะเวลาฟักไข่ 17-18 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่แตง แม่น้ำแม่ริม แม่น้ำลี้ แม่น้ำแม่แจ่ม ทะเลสาบดอยเต่า แม่น้ำปิง คลองสวนหมาก
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Allotinus taras
Pisodonphis cancrivorus
Latirus nodatus
Gastrochaena dentifera
Entomacrodus stellifer
หอยงวงท่อทอมลิน
Rhiostoma tomlini
Previous
Next