-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี ลักษณะเป็นกอตั้งตรง แผ่ขยายด้วยเหง้าสั้นๆระบบรากแผ่กว้าง
-
เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี ลักษณะเป็นกอตั้งตรง แผ่ขยายด้วยเหง้าสั้นๆระบบรากแผ่กว้าง
-
เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี ลักษณะเป็นกอตั้งตรง แผ่ขยายด้วยเหง้าสั้นๆระบบรากแผ่กว้าง
-
เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี ลักษณะเป็นกอตั้งตรง แผ่ขยายด้วยเหง้าสั้นๆระบบรากแผ่กว้าง
-
เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี ลักษณะเป็นกอตั้งตรง แผ่ขยายด้วยเหง้าสั้นๆระบบรากแผ่กว้าง
-
เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี ลักษณะเป็นกอตั้งตรง แผ่ขยายด้วยเหง้าสั้นๆระบบรากแผ่กว้าง
-
เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี ลักษณะเป็นกอตั้งตรง แตกกอดี มีใบดก เจริญเติบโตเร็ว ลำต้นใต้ดินเป็นเหง้า ทรงต้นเป็นกอคล้ายต้นอ้อย เจริญเติบโตได้ดีบนดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง ไม่ทนน้ำท่วมขัง ไม่ทนต่อการเหยียบย่ำของสัตว์
-
เป็นหญ้าเนเปียร์ลูกผสม ทำการคัดเลือกพันธุ์โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา สำนักพัฒนาอาหารสัตว์ ลักษณะทั่วไปเป็นหญ้าอายุหลายปี ทรงต้นเป็นกอตั้งตรงสูง แตกกอดี มีระบบรากแข็งแรง ชอบดินที่มีการระบายน้ำได้ดี มีความอุดมสมบูรณ์สูง ไม่ทนน้ำท่วมขัง เจริญเติบโตเร็ว ให้ผลผลิตสูง มีความน่ากินสูง สัตว์ชอบกิน ไม่มีระยะพักตัว ให้ผลผลิตได้ทั้งปี มีระยะออกดอกสั้น ขอบใบไม่คม ใบและลำต้นมีขนน้อย ไม่คัน มีปริมาณน้ำตาลสูง สามารถนำมาผลิตเป็นหญ้าหมักคุณภาพดีได้
-
เป็นหญ้าต้นเตี้ยกว่าหญ้าเนเปียร์ทั่วไปกอตั้งความสูงเต็มที่ 150-170 ซม. แตกหน่อจากใต้ดิน ใบมีขนาดใหญ่และชี้ตรงมีขนเล็กน้อย มีระบบรากที่แข็งแรง มีเหง้าใต้ดิน ข้อที่อยู่ใกล้ชิดผิวดิจจะมีรากเจริญเติบโตออกมา ข้อของลำต้นมีปล้องสั้น
-
เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี ลักษณะเป็นกอ แตกกอดี มีใบดก ลำต้นใต้ดินเป็นเหง้า ทรงลักษณะทั่วไป เป็นหญ้าอายุหลายปี ลำต้นใต้ดินเป็นเหง้า ลำต้นสั้น ข้อถี่ เจริญเติบโตได้ดีบนดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง ไม่ทนน้ำท่วมขัง ไม่ทนต่อการเหยียบย่ำของสัตว์ ผลผลิตและคุณค่าทางอาหารสูง
-
เป็นหญ้าที่ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างหญ้าเนเปียร์กับหญ้า Pearl Millet ลักษณะทั่วไป เป็นหญ้าอายุหลายปี ลักษณะเป็นกอตั้งตรง แตกกอดี มีใบดก เจริญเติบโตเร็ว ลำต้นใต้ดินเป็นเหง้า ทรงต้นเป็นกอคล้ายต้นอ้อย เจริญเติบโตได้ดีบนดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง ไม่ทนน้ำท่วมขัง ไม่ทนต่อการเหยียบย่ำของสัตว์
-
เป็นหญ้าอายุหลายปี ทรงต้นเป็นกอตั้งตรง แตกกอดี มีระบบรากแข็งแรง ชอบดินที่มีการระบายน้ำได้ดี มีความอุดมสมบูรณ์สูง ไม่ทนน้ำท่วมขัง ไม่ทนต่อการเหยียบย่ำของสัตว์ มีความน่ากินสูง สัตว์ชอบกิน ไม่มีระยะพักตัว สามารถนำมาผลิตเป็นหญ้าหมักคุณภาพดีได้
-
สถานที่ชม :
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ชัยนาท สระแก้ว ลำปาง เชียงราย เพชรบูรณ์
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ลำปาง เชียงราย เพชรบูรณ์
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ยโสธร
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ชัยนาท บุรีรัมย์ นครพนม เพชรบูรณ์ สุโขทัย ชุมพร นราธิวาส
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ชัยนาท สระแก้ว นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม อุดรธานี กาฬสินธุ์ นครพนม สกลนคร หนองคาย เลย ลำปาง แพร่ เชียงราย เพชรบูรณ์ สุโขทัย เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร พัทลุง นราธิวาส ศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง (ขอนแก่น)
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ชัยนาท สระแก้ว นครราชสีมา ยโสธร บุรีรัมย์ อำนาจเจริญ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม อุดรธานี กาฬสินธุ์ นครพนม สกลนคร หนองคาย เลย ลำปาง แพร่ เชียงราย เพชรบูรณ์ สุโขทัย พิจิตร เพชรบุรี สุพรรณบุรี ประจวบคีรีขันธ์ กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราชชุมพร ตรัง พัทลุง สตูล นราธิวาส ศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง (ขอนแก่น)
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา สุโขทัย
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ชัยนาท สระแก้ว นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร อำนาจเจริญ มหาสารคาม อุดรธานี สกลนคร กาฬสินธุ์ นครพนม เลย ลำปาง แพร่ เชียงราย สุโขทัย พิจิตร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง สตูล ศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง(ขอนแก่น)
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ชัยนาท สระแก้ว นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร อำนาจเจริญ มหาสารคาม อุดรธานี สกลนคร กาฬสินธุ์ นครพนม เลย ลำปาง แพร่ เชียงราย สุโขทัย พิจิตร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง สตูล ศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง ขอนแก่น)
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ชัยนาท สระแก้ว นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร อำนาจเจริญ มหาสารคาม อุดรธานี สกลนคร กาฬสินธุ์ นครพนม เลย ลำปาง แพร่ เชียงราย สุโขทัย พิจิตร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง สตูล ศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง (ขอนแก่น)
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ตรัง นราธิวาส
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สระแก้ว
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สระแก้ว
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สระแก้ว
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สระแก้ว
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช ตรัง สตูล
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สระแก้ว ศูนย์วิจัยและพัฒนามาตรฐานอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง (ขอนแก่น)
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ชัยนาท สระแก้ว บุรีรัมย์ นครพนม สกลนคร ลำปาง แพร่ เชียงราย เพชรบูรณ์ สุโขทัย พิจิตร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช ชุมพร ตรัง สตูล
-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ลำต้นสูงจากพื้นดิน 1.8-2.4 เมตร ตั้งตรงขึ้นไป ใบมีลีเขียวอ่อน กว้างและมีเส้นกลางใบขนาดใหญ่ กาบใบมีขนเล็กๆนุ่ม ลิ้นใบเป็นวงแคบๆ มีขนสีขาวแข็ง ช่อดอกเป็นแบบ spike รูปทรงกระบอก
-
ลำต้นสูง 2-4 เมตร ความกว้างกอ 65-70 เซนติเมตร ใบกว้าง 2.6-2.8 เซนติเมตร ใบยาว 90-95 เซนติเมตร จำนวนใบต่อแขนง 13-15 ใบ มีข้อยาว 12-14 เซนติเมตร ลำต้นตั้งตรงขึ้นไป ใบมีลีเขียว ใบมีขนค่อนข้างมาก ใบกว้างและมีเส้นกลางใบขนาดใหญ่ กาบใบมีขนเล็กๆนุ่ม ลิ้นใบเป็นวงแคบๆ มีขนสีขาวแข็ง ช่อดอกเป็นแบบ spike รูปทรงกระบอก
-
ช่อดอกเป็นแบบ contracted panicle ยาว 10-22 ซม. ออกดอกครั้งเดียวปลายเดือนพ.ย.-ธ.ค.
-
ลำต้นสูงจากพื้นดิน 1.7-1.8 เมตร เป็นทรงพุ่ม ใบใหญ่ปลายใบชี้ลงดิน ผิวใบทั้งบนและล่างมีขนเล็กๆ ช่อดอกเป็นแบบ spike รูปทรงกระบอก ออกดอกเร็วประมาณปลายเดือนสิงหาคม
-
ลำต้นสูงจากพื้นดิน 2-3 เมตร ตั้งตรงขึ้นไป ใบมีลีเขียว ใบมีขนค่อนข้างมาก ใบกว้างและมีเส้นกลางใบขนาดใหญ่ กาบใบมีขนเล็กๆนุ่ม ลิ้นใบเป็นวงแคบๆ มีขนสีขาวแข็ง ช่อดอกเป็นแบบ spike รูปทรงกระบอก
-
ลำต้นสูง 1.8-2.5 เมตร ความกว้างกอ 70 เซนติเมตร ใบกว้าง 2.6-2.8 เซนติเมตร ใบยาว 80-85 เซนติเมตร จำนวนใบต่อแขนง 12-14 ใบ มีข้อยาว 10-12 เซนติเมตร ลำต้นตั้งตรงขึ้นไป ใบมีลีเขียว ใบมีขนค่อนข้างมาก ใบกว้างและมีเส้นกลางใบขนาดใหญ่ กาบใบมีขนเล็กๆนุ่ม ลิ้นใบเป็นวงแคบๆ มีขนสีขาวแข็ง ช่อดอกเป็นแบบ spike รูปทรงกระบอก ออกดอกเร็วประมาณปลายเดือนสิงหาคม
-
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทุกภาคของประเทศไทย
-
พบทุกภาคของประเทศไทย
-
พบทุกภาคของประเทศไทย
-
พบทุกภาคของประเทศไทย
-
พบทุกภาคของประเทศไทย
-
ถิ่นกำเนิด :
-
ทวีปแอฟริกาเขตร้อน นำเข้ามาจากประเทศมาเลเซีย
-
ทวีปแอฟริกาเขตร้อน นำเข้าพันธุ์จากประเทศใต้หวัน
-
ทวีปแอฟริกาเขตร้อน นำเข้ามาจากประเทศสหรัฐอเมริกา
-
ทวีปแอฟริกาเขตร้อน นำเข้ามาจากประเทศอินเดีย
-
ทวีปแอฟริกาเขตร้อน ปรับปรุงพันธุ์จากประเทศไทย
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พบได้ทั่วประเทศ
-
พบได้ทั่วประเทศ
-
พบได้ทั่วประเทศ
-
พบได้ทั่วประเทศ
-
พบได้ทั่วประเทศ
-
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยท่อนพันธุ์
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยท่อนพันธุ์
-
ท่อนพันธุ์ หน่อพันธุ์
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยท่อนพันธุ์
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยท่อนพันธุ์
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยท่อนพันธุ์
-
การเก็บเกี่ยว :
-
การตัดหญ้าเนเปียร์ไปเลี้ยงสัตว์ ควรตัดครั้งแรก 60-70 วันหลังปลูก และตัดหญ้าครั้งต่อไปทุก 45-60 วัน ช่วงฤดูฝนหญ้าโตเร็ว อาจตัดอายุน้อยกว่า 60 วัน โดยตัดชิดดิน หญ้าเนเปียร์เหมาะสำหรับใช้เลี้ยงสัตว์ในรูปหญ้าสด หรือหญ้าหมัก ไม่เหมาะสำหรับทำหญ้าแห้ง
-
การตัดไปเลี้ยงสัตว์ ควรตัดครั้งแรก 60-75 วันหลังปลูก และตัดหญ้าครั้งต่อไปทุก 60 วัน โดยตัดชิดดิน เหมาะสำหรับใช้เลี้ยงสัตว์ในรูปหญ้าสด หรือหญ้าหมัก ไม่เหมาะสำหรับทำหญ้าแห้ง
-
การตัดหญ้าเนเปียร์แคระไปเลี้ยงสัตว์ ควรตัดครั้งแรก 60 วันหลังปลูก และตัดหญ้าครั้งต่อไปทุก 45 วัน โดยตัดชิดดิน หญ้าเนเปียร์แคระเหมาะสำหรับใช้เลี้ยงสัตว์ในรูปหญ้าสด หรือหญ้าหมัก ไม่เหมาะสำหรับทำหญ้าแห้ง
-
การตัดไปเลี้ยงสัตว์ ควรตัดครั้งแรก 60-70 วันหลังปลูก และตัดหญ้าครั้งต่อไปทุก 45-60 วัน โดยตัดชิดดิน เหมาะสำหรับใช้เลี้ยงสัตว์ในรูปหญ้าสด หรือหญ้าหมัก ไม่เหมาะสำหรับทำหญ้าแห้ง
-
การตัดไปเลี้ยงสัตว์ ควรตัดครั้งแรก 60-75 วันหลังปลูก และตัดหญ้าครั้งต่อไปทุก 45-60 วัน โดยตัดชิดดิน เหมาะสำหรับใช้เลี้ยงสัตว์ในรูปหญ้าสด หรือหญ้าหมัก ไม่เหมาะสำหรับทำหญ้าแห้ง