Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Castanopsis piriformis
Castanopsis piriformis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Castanopsis piriformis
Hickel & A.Camus
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Ko hin
ชื่อไทย::
-
ก่อหิน
-
ก่อกินลูก
ชื่อท้องถิ่น::
-
ก่อหิน(จันทบุรี); ก่อกินลูก(ตรัง); ก่อเหิบ(นครพนม
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fagales
วงศ์::
Fagaceae
สกุล:
Castanopsis
ปีที่ตีพิมพ์:
2006
วันที่อัพเดท :
27 มิ.ย. 2566 12:28 น.
วันที่สร้าง:
27 มิ.ย. 2566 12:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-30 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลหรือชมพูอ่อน ใบเดี่ยวเรียงแบบสลับ รูปรีหรือรูปใบหอก กว้าง 7-10 เซนติเมตร ยาว 9-15 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม ฐานใบสอบถึงแหลมทู่ ขอบใบเรียบ แผ่นใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีอ่อนกว่า เส้นแขนงใบข้างละ 8-11 เส้น ก้านใบยาว 1-1.5 เซนติเมตร ผิวเกลี้ยง ก้านงอเล็กน้อยและบวมบริเวณโคนก้าน ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยไม่มีก้านดอก สีขาวปนเหลืองเป็นกระจุกละ 3-5 ดอก มีกลิ่นฉุน ร่วงง่าย ช่อดอกเพศผู้และเพศเมียแยกต่างช่อหรือร่วมช่อ หากร่วมช่อ ช่อดอกเพศเมียอยู่โคนช่อ ช่อดอกเพศผู้มักแยกแขนงมาก กลีบเลี้ยง แยกกันอิสระ 6 กลีบ แต่ละกลีบมีขนด้านนอก เกสรเพศผู้ 12 อัน ผิวเกลี้ยง รังไข่รูปลูกข่าง มีขนปกคลุมหนาแน่น มี 3 ช่อง มีออวุล 2 เมล็ด ยอดเกสรเพศเมียมี 3 อัน ผลเชื่อมต่อกันเป็นกลุ่มเบียดอัดกันแน่นบนก้านที่อ้วนสั้น ช่อผลยาว 10-15 เซนติเมตร ผลแก่แข็งมาก ผิวเกลี้ยง รูปกลมหรือรี คล้ายรูปลูกข่าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 เซนติเมตร ก้านผลยาว 0.5-1 เซนติเมตร กาบหุ้มผลสีเขียวอ่อนหุ้มมิดตัวผล ผิวกาบผลมีแนวเส้นคดโค้งไปมา กาบหุ้มจะแยกจากปลายสู่โคนเมื่อผลแก่จัด แต่ละกาบหุ้มมีผล 1 ผล พบตามป่าสนผสม ป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ที่ความสูง 250-950 เมตร ออกดอกราวเดือนกันยายนถึงธันวาคม ติดผลราวเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-30 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลหรือชมพูอ่อน ใบเดี่ยวเรียงแบบสลับ รูปรีหรือรูปใบหอก กว้าง 7-10 เซนติเมตร ยาว 9-15 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม ฐานใบสอบถึงแหลมทู่ ขอบใบเรียบ แผ่นใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีอ่อนกว่า เส้นแขนงใบข้างละ 8-11 เส้น ก้านใบยาว 1-1.5 เซนติเมตร ผิวเกลี้ยง ก้านงอเล็กน้อยและบวมบริเวณโคนก้าน ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยไม่มีก้านดอก สีขาวปนเหลืองเป็นกระจุกละ 3-5 ดอก มีกลิ่นฉุน ร่วงง่าย ช่อดอกเพศผู้และเพศเมียแยกต่างช่อหรือร่วมช่อ หากร่วมช่อ ช่อดอกเพศเมียอยู่โคนช่อ ช่อดอกเพศผู้มักแยกแขนงมาก กลีบเลี้ยง แยกกันอิสระ 6 กลีบ แต่ละกลีบมีขนด้านนอก เกสรเพศผู้ 12 อัน ผิวเกลี้ยง รังไข่รูปลูกข่าง มีขนปกคลุมหนาแน่น มี 3 ช่อง มีออวุล 2 เมล็ด ยอดเกสรเพศเมียมี 3 อัน ผลเชื่อมต่อกันเป็นกลุ่มเบียดอัดกันแน่นบนก้านที่อ้วนสั้น ช่อผลยาว 10-15 เซนติเมตร ผลแก่แข็งมาก ผิวเกลี้ยง รูปกลมหรือรี คล้ายรูปลูกข่าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 เซนติเมตร ก้านผลยาว 0.5-1 เซนติเมตร กาบหุ้มผลสีเขียวอ่อนหุ้มมิดตัวผล ผิวกาบผลมีแนวเส้นคดโค้งไปมา กาบหุ้มจะแยกจากปลายสู่โคนเมื่อผลแก่จัด แต่ละกาบหุ้มมีผล 1 ผล พบตามป่าสนผสม ป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ที่ความสูง 250-950 เมตร ออกดอกราวเดือนกันยายนถึงธันวาคม ติดผลราวเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-30 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลหรือชมพูอ่อน ใบเดี่ยวเรียงแบบสลับ รูปรีหรือรูปใบหอก กว้าง 7-10 เซนติเมตร ยาว 9-15 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม ฐานใบสอบถึงแหลมทู่ ขอบใบเรียบ แผ่นใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีอ่อนกว่า เส้นแขนงใบข้างละ 8-11 เส้น ก้านใบยาว 1-1.5 เซนติเมตร ผิวเกลี้ยง ก้านงอเล็กน้อยและบวมบริเวณโคนก้าน ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยไม่มีก้านดอก สีขาวปนเหลืองเป็นกระจุกละ 3-5 ดอก มีกลิ่นฉุน ร่วงง่าย ช่อดอกเพศผู้และเพศเมียแยกต่างช่อหรือร่วมช่อ หากร่วมช่อ ช่อดอกเพศเมียอยู่โคนช่อ ช่อดอกเพศผู้มักแยกแขนงมาก กลีบเลี้ยง แยกกันอิสระ 6 กลีบ แต่ละกลีบมีขนด้านนอก เกสรเพศผู้ 12 อัน ผิวเกลี้ยง รังไข่รูปลูกข่าง มีขนปกคลุมหนาแน่น มี 3 ช่อง มีออวุล 2 เมล็ด ยอดเกสรเพศเมียมี 3 อัน ผลเชื่อมต่อกันเป็นกลุ่มเบียดอัดกันแน่นบนก้านที่อ้วนสั้น ช่อผลยาว 10-15 เซนติเมตร ผลแก่แข็งมาก ผิวเกลี้ยง รูปกลมหรือรี คล้ายรูปลูกข่าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 เซนติเมตร ก้านผลยาว 0.5-1 เซนติเมตร กาบหุ้มผลสีเขียวอ่อนหุ้มมิดตัวผล ผิวกาบผลมีแนวเส้นคดโค้งไปมา กาบหุ้มจะแยกจากปลายสู่โคนเมื่อผลแก่จัด แต่ละกาบหุ้มมีผล 1 ผล พบตามป่าสนผสม ป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ที่ความสูง 250-950 เมตร ออกดอกราวเดือนกันยายนถึงธันวาคม ติดผลราวเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-30 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลหรือชมพูอ่อน ใบเดี่ยวเรียงแบบสลับ รูปรีหรือรูปใบหอก กว้าง 7-10 เซนติเมตร ยาว 9-15 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม ฐานใบสอบถึงแหลมทู่ ขอบใบเรียบ แผ่นใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีอ่อนกว่า เส้นแขนงใบข้างละ 8-11 เส้น ก้านใบยาว 1-1.5 เซนติเมตร ผิวเกลี้ยง ก้านงอเล็กน้อยและบวมบริเวณโคนก้าน ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยไม่มีก้านดอก สีขาวปนเหลืองเป็นกระจุกละ 3-5 ดอก มีกลิ่นฉุน ร่วงง่าย ช่อดอกเพศผู้และเพศเมียแยกต่างช่อหรือร่วมช่อ หากร่วมช่อ ช่อดอกเพศเมียอยู่โคนช่อ ช่อดอกเพศผู้มักแยกแขนงมาก กลีบเลี้ยง แยกกันอิสระ 6 กลีบ แต่ละกลีบมีขนด้านนอก เกสรเพศผู้ 12 อัน ผิวเกลี้ยง รังไข่รูปลูกข่าง มีขนปกคลุมหนาแน่น มี 3 ช่อง มีออวุล 2 เมล็ด ยอดเกสรเพศเมียมี 3 อัน ผลเชื่อมต่อกันเป็นกลุ่มเบียดอัดกันแน่นบนก้านที่อ้วนสั้น ช่อผลยาว 10-15 เซนติเมตร ผลแก่แข็งมาก ผิวเกลี้ยง รูปกลมหรือรี คล้ายรูปลูกข่าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 เซนติเมตร ก้านผลยาว 0.5-1 เซนติเมตร กาบหุ้มผลสีเขียวอ่อนหุ้มมิดตัวผล ผิวกาบผลมีแนวเส้นคดโค้งไปมา กาบหุ้มจะแยกจากปลายสู่โคนเมื่อผลแก่จัด แต่ละกาบหุ้มมีผล 1 ผล พบตามป่าสนผสม ป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ที่ความสูง 250-950 เมตร ออกดอกราวเดือนกันยายนถึงธันวาคม ติดผลราวเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-30 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลหรือชมพูอ่อน ใบเดี่ยวเรียงแบบสลับ รูปรีหรือรูปใบหอก กว้าง 7-10 เซนติเมตร ยาว 9-15 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม ฐานใบสอบถึงแหลมทู่ ขอบใบเรียบ แผ่นใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีอ่อนกว่า เส้นแขนงใบข้างละ 8-11 เส้น ก้านใบยาว 1-1.5 เซนติเมตร ผิวเกลี้ยง ก้านงอเล็กน้อยและบวมบริเวณโคนก้าน ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยไม่มีก้านดอก สีขาวปนเหลืองเป็นกระจุกละ 3-5 ดอก มีกลิ่นฉุน ร่วงง่าย ช่อดอกเพศผู้และเพศเมียแยกต่างช่อหรือร่วมช่อ หากร่วมช่อ ช่อดอกเพศเมียอยู่โคนช่อ ช่อดอกเพศผู้มักแยกแขนงมาก กลีบเลี้ยง แยกกันอิสระ 6 กลีบ แต่ละกลีบมีขนด้านนอก เกสรเพศผู้ 12 อัน ผิวเกลี้ยง รังไข่รูปลูกข่าง มีขนปกคลุมหนาแน่น มี 3 ช่อง มีออวุล 2 เมล็ด ยอดเกสรเพศเมียมี 3 อัน ผลเชื่อมต่อกันเป็นกลุ่มเบียดอัดกันแน่นบนก้านที่อ้วนสั้น ช่อผลยาว 10-15 เซนติเมตร ผลแก่แข็งมาก ผิวเกลี้ยง รูปกลมหรือรี คล้ายรูปลูกข่าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 เซนติเมตร ก้านผลยาว 0.5-1 เซนติเมตร กาบหุ้มผลสีเขียวอ่อนหุ้มมิดตัวผล ผิวกาบผลมีแนวเส้นคดโค้งไปมา กาบหุ้มจะแยกจากปลายสู่โคนเมื่อผลแก่จัด แต่ละกาบหุ้มมีผล 1 ผล พบตามป่าสนผสม ป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ที่ความสูง 250-950 เมตร ออกดอกราวเดือนกันยายนถึงธันวาคม ติดผลราวเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
มุกดาหาร
-
อุบลราชธานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ลำพูน, ลำปาง
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เชียงใหม่
-
พังงา
-
อุบลราชธานี
-
บึงกาฬ
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
ตาก
-
ยะลา, นราธิวาส
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เปื๋อย
Terminalia pedicellata
บานบุรีม่วง
Saritaea magnifica
Panicum elegantissimum
Helicteres lanceolata
Micromelum glanduliferum
Trigonostemon pachyphyllus
Previous
Next