Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Trigonostemon reidioides
Trigonostemon reidioides
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Trigonostemon reidioides
(Kurz) Craib
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Baliospermum reidioides Kurz
- Trigonostemon hybridus Gagnep.
- Trigonostemon rubescens Gagnep.
ชื่อสามัญ::
-
Lot thanong
ชื่อไทย::
-
โลดทะนง
-
โลดทะนงแดง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Euphorbiaceae
สกุล:
Trigonostemon
ปีที่ตีพิมพ์:
2006
วันที่อัพเดท :
27 มิ.ย. 2566 12:23 น.
วันที่สร้าง:
27 มิ.ย. 2566 12:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
อุบลราชธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ผาแต้ม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. รากอวบหนา มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบทั้งสองด้าน ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก รังไข่ และผล ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5.5-12 ซม. โคนมน ขอบเป็นต่อมคล้ายจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว 0.8-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาว 9-14 ซม. ดอกสีแดงเลือดนก จานฐานดอกรูปวงแหวน ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่กลับ ยาว 2-3 มม. กลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ยาว 4-5 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 0.8-1.5 ซม. ขยายในผลยาว 1.5-3.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาว 2-5 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 4-5 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบที่ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง หรือที่โล่งแห้งแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Eugenia cinerea
Lecanorchis javanica
Kyllinga nemoralis
Ectropothecium hyalinum
Saussurea venosa
Ornithoboea occulta
Previous
Next