Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Garcinia schomburgkiana
Garcinia schomburgkiana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Garcinia schomburgkiana
Pierre
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Egg tree
ชื่อไทย:
-
มะดัน
-
มะดะ
ชื่อท้องถิ่น::
-
maa dan
-
ส้มมะดัน, ส้มไม่รู้ถอย
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Clusiaceae
สกุล:
Garcinia
วันที่อัพเดท :
17 ก.ค. 2565 11:48 น.
วันที่สร้าง:
17 ก.ค. 2565 11:48 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นนทบุรี
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ประเภท: ไม้รอเลื้อย
ลำต้น: เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม ผิวเรียบ ทุกส่วนมีน้ำยางสีเหลือง
ใบ: รูปขอบขนานออกตรงข้ามกัน กว้าง 2.5 – 4 เซนติเมตร ยาว 10 – 15 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบหยักตื้นๆ แผ่นใบหนา
ดอก: เดี่ยว ออกจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 มิลลิเมตร สีเหลืองอ่อน กลีบดอกแข็งหนา ออกดอกเดือนธันวาคม – มกราคม
ผล: รูปรี เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 – 2 เซนติเมตร ยาว 4 – 5 เซนติเมตร สีเขียวอมเหลืองเป็นมัน เนื้ออวบน้ำ รสเปรี้ยว ภายในมีเมล็ดรูปไข่แบนสีน้ำตาล
-
ประเภท: ไม้รอเลื้อย
ลำต้น: เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม ผิวเรียบ ทุกส่วนมีน้ำยางสีเหลือง
ใบ: รูปขอบขนานออกตรงข้ามกัน กว้าง 2.5 – 4 เซนติเมตร ยาว 10 – 15 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบหยักตื้นๆ แผ่นใบหนา
ดอก: เดี่ยว ออกจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 มิลลิเมตร สีเหลืองอ่อน กลีบดอกแข็งหนา ออกดอกเดือนธันวาคม – มกราคม
ผล: รูปรี เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 – 2 เซนติเมตร ยาว 4 – 5 เซนติเมตร สีเขียวอมเหลืองเป็นมัน เนื้ออวบน้ำ รสเปรี้ยว ภายในมีเมล็ดรูปไข่แบนสีน้ำตาล
-
ไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูง 7-10 เมตร ทุกส่วนมีน้ำยางสีเหลือง ใบ เดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 5- 8 เซนติเมตร ปลายและโคนแหลมแผ่นใบเกลี้ยง สีเขียวเข้ม เป็นมัน ดอก เดี่ยวหรือแบบช่อกระจุก มี 3-6 ดอก ออกที่ซอกใบ เป็นดอกสมบูรณ์เพศและดอกเพศผู้กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ค่อนข้างกลม กลีบดอก 4 กลีบ รูปไข่ปลายมนกลีบแข็งหนา สีเหลืองอมส้ม เกสรเพศผู้จำนวนมาก รังไข่เหนือวงกลีบผล แบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด รูปรี ปลายแหลม สีเขียวเป็นมัน มี 3-4 เมล็ด เปลือกเมล็ดแข็ง ขรุขระ
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ดหรือตอนกิ่ง
-
เพาะเมล็ดหรือตอนกิ่ง
-
เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ออกดอกเดือนธันวาคม-มกราคม
การกระจายพันธุ์ :
-
เวียดนาม กัมพูชา ประเทศไทยพบบริเวณ ภาคกลางและภาคใต้
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ototropis sequax
Trisepalum acule
Mecopus nidulans
Chrysopogon fulvus
Eriocaulon cinereum
Conchidium muscicola
Previous
Next